Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรีทน จองเซ, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T06:21:47Z-
dc.date.available2023-12-19T06:21:47Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10907-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาเขตพื้นที่สูง อำเภอเวียงแหง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 (2) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครู และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู จำนวน 127 คน จากสถานศึกษาเขตพื้นที่สูง อำเภอเวียงแหง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 โดยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามออนไลน์ชนิดมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครู ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 และ .90 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) พฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) พฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สัมพันธ์เชิงบวกในระดับมากที่สุดกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครู โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารโรงเรียน--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21 กับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในสถานศึกษาเขตพื้นที่สูง อำเภอเวียงแหง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between managerial behaviors of school administrators in the 21st century and professional learning community of teachers in highland schools of Wiang - Haeng district under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study (1) the managerial behaviors of school administrators in the 21st century in highland schools of Wiang - Haeng district under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3; (2) the professional learning community of teachers; and (3) the relationship between managerial behaviors of school administrators in the 21st century and professional learning community of teachers. The sample consisted of 127 teachers in highland schools of Wiang - Haeng district under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3, all of whom were obtained by simple random sampling. The employed research instrument was an online rating scale questionnaire dealing with data on managerial behaviors of school administrators in the 21st and professional learning community of teachers, with reliability coefficients of .86 and .90, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The research findings were as follows: (1) the overall managerial behaviors of school administrators in the 21st century in highland schools was at the high level; (2) the overall professional learning community of teachers was at the high level; and (3) the managerial behaviors of school administrators in the 21st century positively correlated at the highest level with the professional learning community of teachers, which was significant at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT-1.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons