Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ หันชัยศรี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T08:45:49Z-
dc.date.available2022-08-26T08:45:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำแนกระดับผลการดำเนินงานตามมาตรการหลักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลในจังหวัดกาฬสินธุ์ (2) จําแนกระดับผลการบรรลุตามเป้าหมายการดำเนินงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับและควบคุมโรค ตำบลในจังหวัดกาฬสินธุ์ (3) หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามมาตรการหลักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลบรรลุตามเป้าหมายการดำเนินงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (5) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ประชากรที่ศึกษาคือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รวม 156 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับผลการดำเนินงานตามมาตรการหลักของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับ ตำบลในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อยู่ในระดับดี เป็นสัดส่วนสูงสุดเท่ากับ ร้อยละ 88.50 (2) ระดับการบรรลุตามเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับดีมาก เป็นสัดส่วนสูงสุดเท่ากับ ร้อยละ 55.13 (3) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อายุราชการ ประสบการณ์ทํางาน ปัจจัยแรงจูงใจ ได้แก่ การได้รับยกย่อง ความรับผิดชอบ โอกาสความเจริญก้าวหน้า และแรงจูงใจรวมทุกด้าน ปัจจัยกระบวนการบริหารจัดการ ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์การ การควบคุมกํากับงาน และรวมทุกด้าน มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานงานตามมาตรการหลักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value 1,05) (4) ปัจจัยการสนับสนุนการดำเนินงาน ได้แก่ ความทันเวลาของสื่อ ศึกษาและแบบรายงาน ปัจจัยกระบวนการบริหารจัดการ ได้แก่ การวางแผน การควบคุมกํากับงาน มีความสัมพันธ์กับผลการบรรลุตามเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < (5) (5) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออก ได้แก่ ความไม่เพียงพอของบุคลากร ความไม่มีประสิทธิผลของทรายกำจัดลูกน้ำ ความไม่คล่องตัวของงบประมาณความไม่เพียงพอของสื่อสุขศึกษา การร่วมวางแผนกับองค์กรท้องถิ่นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.213-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล ในจังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeFactors related to the outcomes the prevention and control of dengue haemorrhagic fever among sub-district public health personnel in Kalasin provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.213-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to classify the level of performance of the prevention and control of Dengue Haemorrhagic Fever (DHF.) according to major guideline performance of sub-district public health personnels in Kalasin province, (2) to classify the level of the outcomes of the prevention and control of DHF by sub-district public health personnels in Kalasin province, (3) to identify factors relating to the major guide line of performance of the health workers in the prevention and control of DHF, and (4) to identify factors relating to the outcomes of health workers implementation in the prevention and control of DHF, (5) to explore the problems and obstacles in the prevention and control of DHF. in Kalasin province. A descriptive research design was employed to study 156 public health personnel who were responsible for DHF prevention and control. Data were collected by using mailed questionnaires. The following statistics - percentage, mean, SD, Chi-square test, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient - were used to analyze the data. The analysis showed that: (1) The overall performance level of the health workers in the prevention and control of DHF was mostly at good level (88.50 % ). (2) The outcome of health workers implementation in the prevention and control of DHF was mostly at very good level (55.13 %). (3) The factors of personal characteristics including sex, age, years of work, work experience; motivational factors including achievement motivation, responsibility motivation, advancement motivation, and overall motivation; management process factors including planning, organizing, controlling and all management process were all related to the overall major guideline of performance in the prevention and control of DHF at statistical significant level (p-value < .05). (4) The supporting factors included timely of health education media and managerial procedural factors as planning, and monitoring and control were related to the achievement of health care workers in the implementation at statistical significant level (p-value < .05). (5) The problems and obstacles of the performance of sub-district public health personnel in the prevention and control of DHF were identified as insufficient health workers, shortage of temephose and insecticides, inflexible budget spending procedure, insufficient health education media, insufficient participation with local administrative organization in planning for the prevention and control of DHFen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83634.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons