Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกุญชร เจือตี๋, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorช่อทิพย์ โกมลวาทิน, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T08:10:39Z-
dc.date.available2023-12-19T08:10:39Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10926-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ปกครองและเด็กปฐมวัย (2) ศึกษาปัจจัยด้านการเลี้ยงดูของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย (3) ศึกษาภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย และ (4) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตพื้นที่อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 2-5 ปี ของศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เขตพื้นที่อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 220 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าสูงสุด ต่ำสุด ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ด้วยค่าสถิติไคสแควร์ และค่าสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประมาณ 3 ใน 4 ของบุคคลที่ดูแลเรื่องอาหารและจัดเตรียมอาหารให้เด็กรับประทานคือ บิดา/มารดา เป็นเพศหญิง มีอายุ 20 – 30 ปี ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาและมีรายได้ของครอบครัวต่อเดือนน้อยกว่า 15,000 บาท ส่วนใหญ่เด็กมีน้ำหนักตามเกณฑ์ ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีอาการเจ็บป่วยในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา และได้รับวัคซีนครบตามกำหนด (2) ประมาณ 3 ใน 4 ของผู้ปกครองมีความรู้ในระดับปานกลาง มีความตระหนักในระดับมาก และมีการปฏิบัติในระดับดี (3) เด็กปฐมวัยส่วนใหญ่มีภาวะโภชนาการปกติ และมีพัฒนาการด้านร่างกายอยู่ในระดับดี มีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจอยู่ในระดับดี มีพัฒนาการด้านสังคมและด้านสติปัญญาอยู่ในระดับปานกลาง และ (4) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย พบว่า ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของเด็ก การได้รับวัคซีนตามกำหนดของเด็กมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านร่างกาย และอาการเจ็บป่วยในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาของเด็กมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านสังคม ความรู้ของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโภชนาการth_TH
dc.subjectเด็ก--แง่โภชนาการth_TH
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตพื้นที่อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to nutritional status and development of young children in Child Development Center in Kaeng Hang Maeo District, Chanthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was a descriptive research with the following objectives: (1) to study personal factors of parents and young children; (2) to study child caring factors among parents of young children; (3) to determine nutritional status and development of young children; and (4) to analyze factors related to nutritional status and development of young children in Child Development Center in Kaeng Hang Maeo District, Chanthaburi Province. The study population included parents and young children aged 2-5 years in Child Development Center in Kaeng Hang Maeo District, Chanthaburi Province. Multi-stage sampling was employed to get 220 individuals. The tool used in the research was a questionnaire. Data obtained were analyzed quantitatively: frequency, percent, maximum value, minimum value, mean, and standard deviation and the relationship was analyzed using chi square and correlation. The results of the research showed that: (1) approximately 3 out of 4 individuals who took care of the children’s diet and meal preparation were father/mother, female, aged 20-30 years, generally employed, secondary school graduates with household income less than 15,000 baht per month. Most of the children were within the standard weight for age range with no congenital disease, no record of illness during the past 1 month and received proper vaccinations; (2) approximately 3 out of 4 parents had intermediate level of knowledge, very good level of awareness and good level of practice; (3) most of the children were normal in nutritional status and showed good physical as well as emotional and mental development while they showed moderate social and intellectual development; and (4) analysis of factors related to nutritional status and development of young children revealed that the highest level of education of parents correlated with the children nutritional status, proper vaccinations correlated with physical development whereas illness record during the past 1 month correlated with their social development. Moreover, the knowledge of parents significantly correlated with social development at p-value = 0.01.en_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166925.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons