Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศนันท์ อุปรมัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพนมรุ้ง ถนอมพล, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T08:24:25Z-
dc.date.available2023-12-19T08:24:25Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10929-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (2) ผลของปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (3) ผลของปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชากรที่อาศัยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ทั้งสิ้นจำนวน 416,285 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบสโนว์บอลล์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความสัมพันธ์ และสมการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ อาชีพ ที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์ต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ส่วน เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้ ที่แตกต่างกันไม่มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านการจัดจำหน่ายด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ (3) ปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีผลต่อการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านทัศนคติ ด้านความเชื่อ ด้านการจูงใจ ด้านการเรียนรู้ และด้านการรับรู้ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectรถยนต์--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectรถยนต์ไฟฟ้า--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของผู้บริโภคใน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativePurchasing electric vehicle for consumer in Mueang District Khonkaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to study of (1) The relationship between demographic factors and the purchase of electric vehicles of consumers in Muang District Khon Kaen Province (2) The effect of marketing mix factors on the purchase of electric vehicles of consumers in Mueang District Khon Kaen Province (3) The effect of psychological factors on the purchase of electric vehicles of consumers in Muang District Khon Kaen Province This study was a quantitative research. The population used in this study was the population living in Muang District Khon Kaen Province. A total of 416,285 people were determined using the Taro Yamane formula. A total sample size of 400 people was obtained using the snowball randomization method. The instrument used for data collection was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage and mean, standard deviation. correlation coefficient and multiple regression The results of the study showed that (1) Demographic factors, different occupations were associated with purchasing an electric vehicle, while gender, age, status, educational level and income were not related to purchasing an electric vehicle. Statistical significant at the 0.05 level (2) The marketing mix factors affecting the purchase of electric vehicles with statistical significance at the 0.05 level were place, marketing promotion, personnel, price, process, physical and products, respectively. (3) Psychological factors affecting the purchase of electric vehicles with statistical significance at the 0.05 level were attitudes, beliefs, motivation, learning. and perception, respectively.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167009.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons