Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10930
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกษร บุญอำไพ | th_TH |
dc.contributor.author | ยงยุทธ แสนมะฮุง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T08:29:31Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T08:29:31Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10930 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์(ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง การเขียนลวดลายไทยเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษา ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ (3) ศึกษาความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพ ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครพนม เขต 2 จำนวน 39 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1)ชุด การสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง การเขียนลวดลายไทยเบื้องต้น จำนวน 3 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 5 เรื่องการเขียนลายประจำยาม หน่วยที่ 6 เรื่อง การเขียนลายกระจัง และหน่วยที่ 7 เรื่องการเขียนลายกระหนก (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพชุดการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า ที ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ หน่วยที่ 5 หน่วยที่ 6 และ หน่วยที่ 7 มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ 80.35/ 81.13 , 80.14 / 79.00.และ 81.17 / 80.00 ตามลำดับ (2) นักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ มีความก้าวหน้าทางการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชุดการสอน แบบอิงประสบการณ์ในระดับเหมาะสมมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.142 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | ลายไทย--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเรื่องการเขียนลวดลายไทยเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | A development of experience-based instructional packages in the Arts Learning Area on the topic of basic thai decorative designs for Mathayom Suksa I Students in Nakhon Phonom Service Area 2 | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.142 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were : (1) to develop experience-based Instructional Packages in Arts Learning Area on the Topic of Drawing Basic Thai Decorative Designs for Mathayom suksa I Students in Nakhon Phanom Educational Service Area Two to the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the Learning progress of students Learning from the experience-based instructional Packages; and (3) to study students'opinions toward the quality of the experience-based instructional Packages. suksa I students of Saharajrangsarid School under the Office of Nakhon Phanom Educational Service Area Two. Research instruments were (1) three units of the experience-based instructional Packages. In Arts Learning Area on the topic of Drawing Basic Thai Decorative Designs, namely, Unit 5: Drawing Prajumyam Decorative Designs, Unit 6: Drawing Krajung Decorative Designs, and Unit 7: Drawing Kranok Decorative Designs; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to assess students' opinions toward the quality on the developed experience-based instructional Packages. Statistics for data analysis were the E1/E2, efficiency index, mean, standard deviation, and t-test . The research sample consisted of 39 purposively selected Mathayom Research findings showed that (1) the efficiency indices of Unit 5, Unit 6, and Unit 7 of the experience-based instructional Packages were80.35/81.13, 80.14/79.00 and 81.17/80.00 respectively, thus meeting the determined 80/80 . efficiency criterion; (2) students learning from the experience-based instructional Packages achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) students had opinions that the quality of the experience-based instructional Packages was at the highly appropriate level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชัยยงค์ พรหมวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สมเชาว์ เนตรประเสริฐ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License