Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณี อ่อนคง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-19T08:56:07Z-
dc.date.available2023-12-19T08:56:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10932-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อ ส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สำหรับเด็กปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 1 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของเด็กปฐมวัยที่เรียนจากชุดการสอนทาง อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (3) ศึกษาพัฒนาการทางพฤติกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัยที่เรียนจากชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และ (4) ศึกษาความคิดเห็นของเด็กปฐมวัยที่มีต่อชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อ ส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาล 2 ที่เรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนวัควิหารเบิก (กาญจนานุกูล) จำนวน 39 คน ได้มาโดยเลือกแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการวิจัย คือ (1) ชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาระ ธรรมชาติ รอบตัว จำนวน 4 หน่วย (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (3) แบบสังเกตพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และ (4) แบบสอบถามความคิดเห็นของการใช้ชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ที่ผลิตขึ้นทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพ 82.10/81.78 81.78/82.24 81.78/82.22 และ 80.50/82.22 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) เด็กปฐมวัยมีความก้าวหน้าในการเรียนจากชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) เด็กปฐมวัยมี พัฒนาการทางพฤติกรรมในการเรียนจากชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) เด็กปฐมวัยมีความคิดเห็นต่อชุดการ สอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในระดับเห็นด้วยมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.164-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม--การศึกษาและการสอน (ขั้นก่อนประถม)th_TH
dc.titleชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 1th_TH
dc.title.alternativeElectronic instructional packages with the use fable telling for enhancing environment conservation behaviors for preschool children in Phatthalung Educational Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.164-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) develop electronic instructional packages with the use of fables for enhancing environment conservation behaviors of preschool children in Phatthalung Educational Service Area 1 based on the 80/80 efficiency criterion; (2) study the learning progress of the preschool children learning from the electronic instructional packages (3) study the behavioral progress of the preschool children learning from the electronic instructional packages and (4) study the opinions of the preschool children toward the quality of the electronic instructional packages. children studying in the second semester of the 2008 academic year at Watwiharnberg (Kanjananukul) School in Phatthalung Educational Service Area 1: Research instruments comprised (1) four units of electronic instructional packages with the use of fable for enhancing environment conservation behaviors in the Surrounding Nature Substance; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; (3) an observation forms on environment conservation behaviors; and (4) a questionnaire asking the children's opinions toward the quality of the electronic instructional packages. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings were that (1) the four units of electronic instructional packages with the use of fable for enhancing environment conservation behaviors were efficient at 82.10/81.78 81.78/82.24 81.78/82.22 and 80.50/82.22 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) preschool children learning from the electronic instructional packages achieved learning progress significantly at the .05 level; (3) preschool children learning from the electronic instructional packages achieved behavioral progress significantly at the .05 level; and (4) the opinions of preschool children toward the quality of electronic instructional packages were at the "Highest Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons