Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิภา ปัญญานุวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุษา พันธุ์คีรี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-20T06:30:44Z-
dc.date.available2023-12-20T06:30:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10940-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการจัดระบบสารสนเทศในงาน กิจการนักเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง (2) เปรียบเทียบการจัดระบบสารสนเทศในงานกิจการนักเรียนจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง จำนวน 152 โรงเรียน เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 152 คน และครู จำนวน 152 คน รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น .97 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการจัดระบบสารสนเทศในงานกิจการนักเรียนของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็ก และขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง โดยภาพรวม มีสภาพการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และ (2) การเปรียบเทียบการจัดระบบ สารสนเทศในงานกิจการนักเรียนจำแนกตามขนวดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง พบว่า การจัดระบบสารสนเทศในงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็ก และขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง โดยภาพรวม และรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.4-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศ--การจัดการth_TH
dc.titleการจัดระบบสารสนเทศในงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงth_TH
dc.title.alternativeOrganizing management information system in student affairs of basic education schools under Phatthalung educational service area officesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.4-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the conditions of the organization of management information system in student affairs in basic education schools under the offices of Phatthalung Educational Service Area; (2) compare the conditions of the organization of management information system in student affairs in basic education schools under the offices of Phatthalung Educational Service Area, as classified by school size. The research sample consisted of 152 basic education schools under the offices of Phatthalung Educational Service Area. Research informants totaling 304 school personnel consisted of 152 school administrators and 152 teachers. The employed research instrument was a questionnaire, developed by the researcher, with reliability coefficient of .97. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the overall conditions of organization of management information system in student affairs in small and medium sized basic education schools were rate at the high level; and (2) as for the comparison of the organization of management information system conditions in student affairs in the basic education schools, it was found that small schools and medium sized schools differed significantly at the .05 level in their overall and by-aspect organization of management information system in student affairsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons