Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10942
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
dc.contributor.author | ปวีณา นิยมธรรม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T07:09:18Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T07:09:18Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10942 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเป็นผู้นำของ นักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเป็นผู้นำ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเป็นผู้นำของนักเรียน ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม หลังการ ทดลอง และ(3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเป็นผู้นำของนักเรียนกลุ่มทคลองที่มีภูมิหลังทาง ชีวสังคมแตกต่างกัน หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเป็นผู้นำ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2552 ของโรงเรียนพระแม่มารีสาทร กรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม 1 ห้องเรียน ซึ่งมีนักเรียนหลากหลาย เครื่องมือที่ใช้ คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา พฤติกรรมการเป็นผู้นำ (2) กิจกรรมแนะแนวอื่นๆ และ(3) แบบวัดพฤติกรรมการเป็นผู้นำ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรม การเป็นผู้นำ มีพฤติกรรมการเป็นผู้นำสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรม การเป็นผู้นำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเป็นผู้นำ มีพฤติกรรมการเป็นผู้นำสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และ(3) กลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมต่างกัน มีพฤติกรรมการเป็นผู้นำ ไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.241 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำ--นักเรียนมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเป็นผู้นำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพระแม่มารีสาทร กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop leadership behaviors of Mathayom Suksa III students at Phra Mae Mary Sathorn School in Bangkok Metropolis | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.241 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) compare leadership behaviors of students in the experimental group before and after using a guidance activities package to develop leadership behaviors; (2) compare the post-experiment leadership behaviors of students in the experimental and control groups; and (3) compare leadership behaviors of experimental group students with different bio-social backgrounds after using the guidance activities package to develop leadership behaviors. The research sample for this study consisted of 40 Mathayom Suksa III students in an intact heterogeneous classroom of Phra Mae Mary Sathorn School in the 2009 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop leadership behaviors; (2) other guidance activities; and (3) a scale to assess leadership behaviors. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. Research findings showed that (1) the post-experiment leadership behaviors of the experimental group using the guidance activities package to develop leadership behaviors were significantly higher than their pre-experiment counterparts at the .01 guidance level; (2) leadership behaviors of the experimental group using the activities package to develop leadership behaviors were significantly higher than those of the control group at the .01 level; and (3) after using the guidance activities package to develop leadership behaviors, experimental group students with different bio-social backgrounds did not differ in their leadership behaviors | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เจียรณัย ทรงชัยกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License