Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจียรณัย ทรงชัยกุลth_TH
dc.contributor.authorวรฉัตร ไตรทิพย์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-20T07:25:44Z-
dc.date.available2023-12-20T07:25:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10943en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อ ส่วนรวมของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำ ประโยชน์ต่อส่วนรวม (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวมระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม หลังการทดลอง และ (3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อ ส่วนรวม ของกลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมแตกต่างกัน หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้าน ถนน (ประสมทรัพย์ประชานุกูล 1) ปีการศึกษา 2552 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำประโยชน์ ต่อส่วนรวม จำนวน 12 กิจกรรม (2) กิจกรรมแนะแนวอื่น ๆ จำนวน 12 กิจกรรม และ (3) แบบวัดพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการ ทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวมสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มี พฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวมสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) กลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อ ส่วนรวมไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.265en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมการช่วยเหลือในเด็กth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านถนน (ประสมทรัพย์ประชานุกูล 1) จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package for development of public service behaviors of Mathayom Suksa II students of Ban Thanon (Prasomsap Prachanukul 1) school in Buri Ram Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.265-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare public service behaviors of experimental group students before and after using the guidance activities package for development of public service behaviors; (2) compare the post-experiment public service behaviors of students in the experimental and control groups; and (3) compare public service behaviors of experimental group students with different bio-social backgrounds after using the guidance activities package for development of public service behaviors. The research sample consisted of 40 randomly selected Mathayom Suksa II students of Ban Thanon (Prasomsap Prachanukul 1) School, Buri Ram Province, in the 2009 academic year. The employed research instruments consisted of (1) a guidance activities package for development of public service behaviors, comprising 12 activities; (2) twelve other guidance activities; and (3) a scale to assess public service behaviors, with .93 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. The research findings revealed that (1) the post-experiment public service behaviors of the experimental group students who used the guidance activities package for development of public service behaviors were at the significantly higher level than their pre-experiment counterparts at the .01 level; (2) the experimental group students using the guidance activities package for development of public service behaviors had public service behaviors at the significantly higher level than those of the control group students at the .01 level; and (3) after using the guidance activities package for development of public service behaviors, experimental group students with different bio-social backgrounds did not differ in their public service behaviors.en_US
dc.contributor.coadvisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons