Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา วัธนสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเมตตา สารมานิตย์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-20T07:53:00Z-
dc.date.available2023-12-20T07:53:00Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10944-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะพื้นฐานวิชา ภาษาอังกฤษ จำนวน 3 ฉบับ คือ Present Simple Tense, Past Simple Tense และ Present Perfect Tense และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน สุรศักดิ์มนตรี กรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง โดยเลือกนักเรียนในชั้นเรียนที่ผู้วิจัย รับผิดชอบสอนในปีการศึกษา 2552 จำนวน 5 ห้องเรียน รวม 252 คน และแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อใช้ในการวิจัยด้วยการจับฉลากห้องเรียน การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยมีวิธีดำเนินการดังนี้ สร้าง แบบทดสอบเพื่อสำรวจเป็นแบบทดสอบเติมคำตอบสั้น ๆ พร้อมระบุเหตุผลของการตอบ โดยเขียน ข้อสอบให้สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม นำไปทดสอบเพื่อรวบรวมคำตอบและเหตุผลของการ ตอบผิด นำคำตอบที่ผิดของนักเรียนส่วนใหญ่ไปเป็นตัวลวงของข้อสอบในแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะ พื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษที่สร้างขึ้นเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือกและวิเคราะห์จุดบกพร่อง นำไปทดสอบ 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงข้อสอบ และครั้งที่ 3 เพื่อหาคุณภาพของ แบบทดสอบ ผลการวิจัยได้แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 3 ฉบับ คือ (1) แบบทดสอบวินิจฉัยฉบับที่ 1 เรื่อง Present Simple Tense มีค่าความยากระหว่าง .66 - .79 ค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง .36 - .96 (2) แบบทดสอบวินิจฉัยฉบับที่ 2 เรื่อง Past Simple Tense มีค่าความยากระหว่าง .67 - .79 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .43 -. 86 และ (3) แบบทดสอบวินิจฉัยฉบับที่ 3 เรื่อง Present Perfect Tense มีค่าความยากระหว่าง .45 -. 70 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .61 - .89 ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบแต่ละ ฉบับซึ่งคำนวณโดยใช้สูตรของ ลิฟวิงสตัน มีค่า .99 ,.99 , และ.99 ตามลำดับ และแบบทดสอบทั้ง 3 ฉบับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาและค่าความตรงของตัวลวงและการวิเคราะห์จุดบกพร่องตามความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ ตามวิธีของโรวิเนลลีและแฮมเบิลตัน มีค่าเท่ากับ 1.00 เท่ากันทุกฉบับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.268-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ--แบบทดสอบth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe development of diagnostic tests of basic skill in english for Mathayom Suksa III students of Surasakmontree School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.268-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวัดและประเมินผลการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to construct three diagnostic tests of basic skills in English: a diagnostic test on Present Simple Tense, a diagnostic test on Past Simple Tense, and a diagnostic test on Present Perfect Tense; and (2) to verify the quality of the three developed diagnostic tests. The research sample consisted of 252 Mathayom Suksa III students in five intact classrooms of Surasakmontree School in Bangkok Metropolis. The five classrooms were purposively selected based on the fact that they were taught by the researcher in the 2009 academic year. Students in the five classrooms were randomly assigned into four groups by lot taking. The procedure of the test construction began with the development of survey tests related to the learning objectives. In the survey tests, students were required to provide a short answer for each test item and give reasons for each of their answers. The survey tests were administrated to collect the mistakes and reasons from student's answers. Then the 4-choice diagnostic tests with mistake reasons for each distracter were developed based on the data obtained from the administration of the survey tests. The diagnostic tests were tried out three times. Results from the first and second tryouts were analyzed and utilized for improvement of the tests; those from the third tryout were for quality determination of the tests. As a result of the research, three diagnostic tests were constructed. The first was a diagnostic test on Present Simple Tense having difficulty indices ranging from .66 - .79 and discrimination indices ranging from .36 - .96. The second was a diagnostic test on Past Simple Tense having difficulty indices ranging from .67 - .79 and discrimination indices ranging from .43 - .86. The third was a diagnostic test on Present Perfect Tense having difficulty indices ranging from .45 - .70 and discrimination indices ranging from .61 - .89. Reliability coefficients of the three tests computed by Livingston formula were .99, .999, and .99 respectively. The content validity, the validity of distracters and the validity of analysis of mistakes of the three diagnostic tests based on opinions of experts according to Rovinelli and Hambleton method were at 1.00 which were equal for all of the three testsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons