Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์th_TH
dc.contributor.authorอมลวรรณ ศรีประเสริฐth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T03:26:20Z-
dc.date.available2023-12-21T03:26:20Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10951en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractประชากร คือ หัวหน้าการบริหารงานบุคคลของทุกสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายการบริหารงาน บุคคลสำหรับสถานศึกษาของหัวหน้าการบริหารงานบุคคล ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นนทบุรีเขต 2 (2) ศึกษาปัญหาการดำเนินงานด้านกฎหมายการบริหารงานบุคคลสำหรับสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 และ (3) นำเสนอแนวทางการพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย การบริหารงานบุคคลแก่หัวหน้าการบริหารงานบุคคลสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นนทบุรีเขต 2 การศึกษานนทบุรี เขต 2 โรงเรียนละ 1 คน รวม 75 คน ดำเนินการวิจัยเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 การวัดความรู้ ความเข้าใจด้านกฎหมายการบริหารงานบุคคลกับประชากรทั้งหมด ระยะที่ 2 การสนทนากลุ่ม ตามประเด็นที่ได้ จากผลการวิจัยระยะที่ 1 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรจำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจของหัวหน้าการบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมายการบริหารงานบุคคลชนิด ปรนัยสี่ตัวเลือก จำนวน 80 ข้อ พร้อมตอบคำถามปลายเปิดด้านปัญหาและข้อเสนอแนะ เครื่องมือมีค่าความตรง .67 - 1.00 ค่าความยากง่าย .38 - .69 และค่าอำนาจจำแนก .33 - 57 และ(2) ประเด็นการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1)หัวหน้าการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานนทบุรีเขต 2 มีความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายการบริหารงานบุคคลเฉลี่ยร้อยละ 53.83 ต่ำกว่าเกณฑ์ที่ กำหนดคือร้อยละ 60 (2)หัวหน้าการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 มีปัญหาการดำเนินงานด้านการขาดความรู้ความเข้าใจ และความอิสระในการดำเนินงานด้านกฎหมายการ บริหารงานบุคคล และ (3) แนวทางการพัฒนาความรู้ความเข้าใจแก่หัวหน้าการบริหารงานบุคคลสำหรับ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 คือ การให้การอบรม ประชุม สัมมนา การเรียนรู้ จากการปฏิบัติ การเผยแพร่ความรู้ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์ และทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง กรม หน่วยงานอิสระด้านกฎหมาย และหน่วยงานที่รับผิดชอบการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ควรกำหนด นโยบาย แผนงาน โครงการ ไว้ในแผนปฏิบัติราชการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.415en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2th_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านกฏหมายการบริหารงานบุคคลสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe proposed guidelines to develop knowledge and understanding in personnel administration law for schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.415-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study knowledge and understanding in personnel administration law of personnel in schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2; (2) study problems on implementing personnel administration law for schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2; and (3) propose guidelines to develop knowledge and understanding on personnel administration law of personnel in schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2. The population of this study comprised 75 personnel administration heads from all of 75 schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2 (one personnel administration head from each school). This research procedure comprised two phases: Phase I: The research population was tested on knowledge and understanding in personnel administration law. The employed instrument was a test comprising 80 multiple choice test items to assess knowledge and understanding in personnel administration law, and open-ended items on the problems and recommendations. The instrument had validity indices ranging from .67 - 1.00, the difficulty indices ranging from .38 - .69, and the discriminating indices ranging from .33 - .57. Phase II: A sample of 12 personnel was selected from the population for focus group discussion based on issues derived from research results in Phase I. Statistics for analysis of quantitative data were the percentage, mean, and standard deviation; while qualitative data from focus group discussion were analyzed with content analysis. Research findings were as follows: (1) personnel administration heads of schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2 had the mean score on knowledge and understanding in personnel administration law at 53.83 percent of the full score, which was lower than 60 percent criteria; (2) personnel administration heads of schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2 had implementation problems of the lack of knowledge and understanding and the lack of freedom in implementation of personnel administration law; and (3) the guidelines to develop knowledge and understanding in personnel administration law were by training, academic conference, seminar, workshop and information distribution in printed media and electronic media; the concerned agencies, such as the schools, educational service area offices, Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education, departments, independent work agencies on laws, and work agencies responsible for production of teachers and educational personnel should set the policy, programs, and projects within the organizational plan.en_US
dc.contributor.coadvisorสมศักดิ์ ดลประสิทธิ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons