Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัตนา ตัณฑะพานิชกุล, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T06:23:55Z-
dc.date.available2023-12-21T06:23:55Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10957-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค (3) การตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค ในช่วงเกิดโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในจังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้บริโภคที่มีประสบการณ์ใช้บริการสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดระยอง ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครน ได้จำนวน 400 ตัวอย่าง สุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค ในช่วงเกิดโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในจังหวัดระยอง โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดย 3 ลำดับแรก คือด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือด้านบุคคล ด้านกระบวนการ (2) ระดับการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค โดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดย 3 ลำดับแรกคือ ด้านการตัดสินใจซื้อ รองลงมาคือด้านพฤติกรรมหลังการซื้อ และด้านตระหนักถึงปัญหา (3) ผู้บริโภคที่มีสถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมกายภาพ มีผลต่อการตัดสินใจสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภค ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริการจัดส่งสินค้าth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่th_TH
dc.subjectอาหารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นของผู้บริโภคในช่วงเกิดโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting consumer's decision to order food delivery via application during the coronavirus 2019 (COVID-19) in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) demographic characteristics of consumers’ decisions to order food delivery via applications; (2) opinion level of service marketing mix factors affecting consumers’ decision to order food delivery via applications; (3) opinion level of consumers’ decision to order food delivery via applications; and (4) factors affecting consumers’ decision to order food delivery via applications during the coronavirus 2019 (COVID-19) in Rayong Province. This study was a survey research. Population was unknown experienced consumers who had ordered food delivery via applications in Rayong Province. The sample size was calculated by Cochran’s Formula as a total of 400 samples. The samples were selected randomly for convenience, and data were collected through questionnaires. The statistical methods of analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, Least Significant Difference (LSD), and Multiple Regression Analysis. The findings indicated that (1) the opinion level of service marketing mix factors affecting consumers’ decision to order food delivery via applications during COVID-19 was overall at a high level. The top three factors of Product, Person, and Process were at a high level, respectively. (2) The opinion level of decision factors to order food delivery via applications was overall at a high level with the top 3 ranking factors of purchase decision, post-purchase behavior, and problems awareness. (3) Consumers with social status, age, education level, occupation, and income who ordered food delivery via applications during COVID-19 in Rayong Province had affected of decision factors to order food delivery, at statistical significance at 0.05 level. (4) Factors affecting consumers’ decision to order food delivery via applications during COVID-19 in Rayong Province were Product, Price, Promotion, and Physical Environment, with statistical significance at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167013.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons