Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรสุดา ปัญญาไศย, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T07:59:37Z-
dc.date.available2023-12-21T07:59:37Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10974-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคม เศรษฐกิจ ของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตข้าวแบบนาแปลงใหญ่ของเกษตรกร 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการผลิตข้าวแบบนาแปลงใหญ่ 4) ความต้องการและแนวทางการส่งเสริมการเกษตรนาแปลงใหญ่ของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 218 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรทาโร่ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 141 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับสลาก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรร้อยละ 53.9 เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 56.38 ปี การศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา จำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.00 คน ส่วนมากมีประสบการณ์ในการทำนาเฉลี่ย 25.13 ปี มีพื้นที่ทำนาถือครองเฉลี่ย 34.04 ไร่ ต้นทุนการผลิตต่อไร่เฉลี่ย 3,672.96 บาท รายได้จากการจำหน่ายข้าวต่อไร่เฉลี่ย 6,276.45 บาท จำหน่ายข้าวราคาต่อกิโลกรัมเฉลี่ย 10.61 บาท ผลผลิตข้าวต่อไร่เฉลี่ย 554.18 กิโลกรัม การรับข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริมการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ส่วนใหญ่มาจากแหล่งสื่อบุคคล (2) เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 เมล็ดพันธุ์ที่ใช้มาจากศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพิษณุโลก วิธีการปลูกข้าวนิยมใช้วิธีการหว่านข้าวแห้ง อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ปลูกไร่ละ 11-20 กิโลกรัม แหล่งน้ำในการผลิตข้าวส่วนมากอาศัยน้ำฝน (3) ปัญหาการผลิตข้าวระดับมากที่สุด ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องการใส่ปุ๋ย ขาดสื่อในการส่งเสริมความรู้เรื่องการผลิตข้าวและในพื้นที่มีแปลงเรียนรู้ต้นแบบน้อย ข้อเสนอแนะของเกษตรกรต้องการให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าไปส่งเสริมติดตามงานอย่างต่อเนื่องและมีการตรวจวิเคราะห์ดิน (4) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยและการลดต้นทุนเพิ่มประสิทธิภาพข้าวอยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านช่องทางสื่อบุคคลในระดับมาก โดยวิธีการส่งเสริมในระดับมากที่สุด ได้แก่ การบรรยาย แนวทางการส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องการใส่ปุ๋ยตามค่าการวิเคราะห์ดินเพื่อช่วยลดต้นทุนและ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตข้าว เจ้าหน้าที่ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบูรณาการทางานร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน ติดตามงาน และให้คาปรึกษาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่กระบวนการผลิตไปจนถึงการจำหน่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--พิษณุโลก.th_TH
dc.subjectการทำนา--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมนาแปลงใหญ่ของเกษตรกร อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines of the paddy collaborative farming of farmers in Bang Krathum district, Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1)social -economic conditions of farmers 2) rice production conditions of farmers 3) problems and suggestions in rice production of farmers 4) needs and suggestions in rice production of farmers. The population of this study was 218 rice production farmers who participated in the agricultural extension system project for collaborative farming in Bang Krathum district, Phitsanulok province. The sample size of 141 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method by using lotto. Data was collected through conducting interview and focus group and was analyzed by using statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking, and content analysis. The results of the study stated that 1) 53.9 % of farmers were female with the average age of 56.38 and completed primary school education. The average household labor was 2.00 people with the average experience in rice production of 25.13 years. The average rice production area with land ownership was 34.04 Rai. The average cost of production per Rai was 3,672.96 Baht. The average income from rice production per Rai was 6,276.45 Baht and the average rice selling price per kilogram was 10.61 Baht. The average rice product per Rai was 554.18 kilograms. The news and information perception regarding agricultural extension for collaborative farming came from personal media resource.2) Most of the farmers grew Jasmine rice 105 which originally from seed production center. The rice production was done by muder dry seeding and used seeds with the ratio per Rai of 11-20 kilograms. They relied on natural rain for rice production. 3) Most problematic issues for rice production were such as the lack of knowledge in marketing, group management, knowledge about fertilizer application, media in extension of knowledge regarding rice production, and model learning crop area. Farmers suggested that they wanted the agricultural extension officers to regularly follow up and check soil analysis.4) Farmers wanted to receive the extension knowledge about fertilizer application and effective production cost reduction at the highest level through the channel of personal media at the high level by using the extension method such as lectures at the highest level. Knowledge extension guideline for farmers was about the fertilizer application based on soil analysis in order to reduce the cost of production and increase the effectiveness in rice production.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167303.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons