Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมณฑิชา พุทซาคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรวดี บางเพียรดี, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T08:11:04Z-
dc.date.available2023-12-21T08:11:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10976-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) สภาพการเลี้ยงไก่เนื้อของเกษตรกร (3) การได้รับความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่เนื้อตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (4) การปฏิบัติของเกษตรกรในการเลี้ยงไก่เนื้อตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และ (5) ปัญหาของเกษตรกรเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่เนื้อตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรเลี้ยงไก่เนื้อแบบพันธสัญญาในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 141 ราย การคำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ความคลาดเลื่อน 0.05 ได้จำนวน 105 ราย และสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรอายุเฉลี่ย 50.67 ปี ทำฟาร์มไก่เนื้อเป็นอาชีพหลักและทำไร่เป็นอาชีพเสริม มีขนาดพื้นที่เลี้ยงไก่เนื้อเฉลี่ย 14.73 ไร่ (2) เกษตรกรใช้สายพันธุ์ไก่อาร์เบอร์ เอเคอร์ส ลักษณะโรงเรือนเป็นแบบปิด เลี้ยงแบบมีพันธสัญญากับบริษัท เกษตรกรได้การรับรองมาตรฐานฟาร์ม (3) เกษตรกรเคยเข้าอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่เนื้อตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และเกษตรกรได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่เนื้อจากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ เกษตรกรได้รับข่าวสารจากเจ้าหน้าที่ของกรมปศุสัตว์ เอกสารเผยแพร่ และอินเทอร์เน็ต (4) เกษตรกรมีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสมทางด้านองค์ประกอบฟาร์มและการจัดการฟาร์ม ส่วนด้านบุคลากรประเด็นสุขลักษณะส่วนบุคคลยังไม่ผ่าน เพราะเกษตรกรยังมีการป้องกันการนำเชื้อเข้าฟาร์มที่ไม่ถูกต้อง ด้านสุขภาพสัตว์ มีการป้องกันควบคุมโรคไม่เคร่งครัดทำให้เกิดความเสี่ยงของไก่ติดโรคสูง ด้านสวัสดิภาพสัตว์ เกษตรกรปฏิบัติได้ดี ด้านสิ่งแวดล้อม เกษตรกรปฏิบัติได้ดี ส่วนด้านการบันทึกข้อมูล เกษตรกรไม่เห็นถึงความสำคัญของการเก็บรวบรวมข้อมูล หรืออาจยังไม่เข้าใจวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (5) เกษตรกรยังมีปัญหาในการเลี้ยงไก่เนื้อเกี่ยวกับด้านสุขภาพไก่ในระดับมาก ส่วนด้านอื่น ๆ มีปัญหาน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectไก่เนื้อ--มาตรฐานth_TH
dc.subjectการจัดการฟาร์มth_TH
dc.subjectฟาร์มไก่--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.subjectเกษตรพันธสัญญาth_TH
dc.titleการปฏิบัติในการเลี้ยงไก่เนื้อตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อแบบพันธสัญญาในจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeBroiler rearing practice according to good agricultural practice standard by farmers under contract broiler farming in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) socio-economic status of farmers, (2) broiler rearing situation of farmers, (3) farmers’ knowledge reception of good agricultural practice (GAP) for broiler rearing practice, (4) farmers’ practices according to GAP, and (5) farmers’ problems in broiler rearing practice according to GAP. The research population were 141 farms under contract broiler farming in Kanchanaburi Province. The sample size was determined by Taro Yamane’s formula with an error of 0.05 accounting for 105 farms. The data were collected by a questionnaire and analyzed to calculate frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values. The research results were found that (1) an average age of farmers was 50.67 years. They had main and supplementary occupations as broiler and field crop production, respectively. The average farm area was 14.73 Rai (1 Rai = 1,600 square meters). (2) They used Arbor Acres breed and a closed system type of farmstead with contract farming with a private company. Most of them had received farm standard certification. (3) They were trained in broiler rearing practice according to GAP and received support from the personnel of Livestock Department. Furthermore, they received news from the Livestock Department personnel, publish documents, and internet. (4) They had corrected practices in farm structure and farm management, however, the personal hygiene still had not passed, it was shown that they were still lacking of the infection control. In the disease prevention and control, farmers were not strict enough in the practice and it could pose a high risk of infected broilers. Nevertheless, the farmers performed well in animal welfare and environment, but they ignored the importance of data collection for future production period or did not understand how to collect one. Moreover (5) they had problems of broiler health at high levl, but other problems were found at low levelen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167311.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons