Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ เข็มเพ็ชร์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-12-28T02:55:33Z-
dc.date.available2023-12-28T02:55:33Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10986-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ทัศนคดิและความพึงพอใจด้านพฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี (2) พฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและความพึงพอใจกับพฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยป็นผู้ใช้บริการประเกทผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563 จำนวน 27,225 กน คำนวณขนาคตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาวิจัย จำนวน 400 คน โดยเก็บตัวอย่างผู้ใช้บริการประเภทผู้ป่วยนอกตามเกณฑ์ที่กำหนดเครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามและ ทดสอบความน่าเชื่อถือได้ระดับความเชื่อมั่นระหว่าง 0.94-0.98 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ก่ร้อขละ ค่เดี่ยส่วนเยงเบนมาตรฐาน และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ทัศนติและความพึงพอใจด้านพฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัคสุพรรณบุรี อยู่ในระดับดี และ (3) ทัศนคติและความพึงพอใจค้นพฤติกรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับมากกับพฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ทั้งค้านทักษะในการฟัง ทักษะในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน ทักษะในการรับข้อมูลข่าวสารที่ปราศจากอคติ และทักษะการสื่อสารแบบเปิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) ผลจากการศึกษานี้สนับสนุนว่าผู้บริหารควรส่งเสริมทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากร โดยเฉพาะทักษะในการฟัง ควรมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสำหรับบุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการสื่อสารในการให้บริการของบุคลากรในมุมมองผู้ใช้บริการโรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeCommunication behaviors in service provision among personnel in consumers’ view at Sam Chuk Hospital in Suphan Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were: (1) to explore attitudes towards, and satisfaction with, communication behaviors in service provision of health-care personnel in consumers’ view; (2) to explore communication behaviors in service provision of personnel in consumers’ view; and (3) to assess the relationship between attitudes and satisfaction and communication behaviors in service provision of health-care providers in consumers’ view at Sam Chuk Hospital, Suphan Buri province. This study involved a sample 400 outpatients selected out of all 27,225 outpatients at Sam Chuk Hospital in fiscal year 2020, as calculated using the Taro Yamane formula and based on the specified criteria. Data were collected using a closed-ended questionnaire from selected respondents. Based on the questionnaire’s Cronbach’s alpha reliability tests, its confidence level was 0.94–0.98. Analytical statistics were percentage, mean, standard deviation and Pearson's correlation coefficient. The results revealed that: (1) the consumers’ attitudes towards and satisfaction with care providers’ communication behaviors while providing health services at the hospital were at a high level; (2) the consumers regarded care providers’ communication behaviors at a good level; and (3) according to consumers’ view, consumers’ attitudes and satisfaction were positively/highly associated with care providers’ communication behaviors at the hospital, especially concerning skills in listening, clear information-giving, un-biased information taking, and open-minded communication – all significantly (P< 0.01). So, it is suggested that relevant administrators should support programs or workshops for promoting personnel’s effective communication skillsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168063.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons