Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสราวุธ สุธรรมาสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรีสุนีย์ ชีวเมธี, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:31:33Z-
dc.date.available2022-08-27T02:31:33Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีการนำโคลนปูนเป็นวัสดุในการผลิตแผ่นฝ้าเพดาน (2) เปรียบเทียบความแข็งแรงของแผ่นฝ้าเพดาน ที่มีส่วนผสมของโคลนปูนกับแผ่น ฝ้าเพดานที่จําหน่ายตามท้องตลาด (3) เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการผลิตแผ่นฝ้าเพดานที่มีส่วนผสมของโคลนปูนกับการฝังกลบโคลนปูน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นโคลนปูน ซึ่งเป็นกากของเสียจากอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษแบบคราฟท์ โดยทําการทดสอบเบื้องต้นและกําหนดอัตราส่วนผสม ปูนยิปซัมต่อโคลนปูนได้ 8 สูตร คือ 1.1 1.5:1 2:1 3:1 4:1 1:1.5 1.2 1.3 ผลิตเป็นแผ่นฝ้าเพดานตามที่จําหน่ายในท้องตลาด ทั้ง 2 แบบ คือ แบบอุตสาหกรรมครัวเรือน และ แบบอุตสาหกรรมใหญ่ แล้ววัดความแข็งแรงของแผ่นฝ้าเพดานที่ผลิตได้ ผลการวิจัยพบว่า (1) วิธีการนำโคลนปูนเป็นวัสดุร่วมกับปูนยิปซัม ในการผลิตแผ่น ฝ้าเพดานอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ ปูนยิปซัม 1.5 ส่วนต่อโคลนปูน 1 ส่วน (2) เปรียบเทียบความแข็งแรงของแผ่นฝ้าเพดาน ที่มีส่วนผสมของโคลนปูนกับแผ่นฝ้าเพดานที่จําหน่ายตามท้องตลาด ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (อุตสาหกรรมแบบครัวเรือน) (3) เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการผลิตแผ่นฝ้าเพดานที่มีส่วนผสมของโคลนปูน มีค่าใช้จ่ายมากกว่าการฝังกลบการผลิตแผ่นฝ้าเพดานจากโคลนปูนสามารถผลิตและจำหน่ายได้ ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มในตัวโคลนปูน รวมทั้งไม่ต้องหาพื้นที่ในการฝังกลบ และค่าใช้จ่ายในการติดตามผลการฝังกลบ คําสําคัญ โคลนปูน อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ แผ่นฝ้าเพดาน กากของเสียอุตสาหกรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.206-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการผลิตแผ่นฝ้าเพดานจากโคลนปูนที่เหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษth_TH
dc.title.alternativeCeiling board production using lime mud waste from pulp industryth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.206-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are as following: (1) to study how to transform the Lime mud to be a raw material in producing ceiling plate. (2) to compare the strength of a normal ceiling plate with a Lime mud ceiling plate. (3) to compare the expense of producing the Lime mud ceiling plate with the expense of burying the industrial waste. This research is conducting as a case study by using sampling of the wasting Lime mud from the Craft Tissue and Paper industry. This mud is used as a co-raw material of gypsum in order to produce the ceiling plate in a household industry and a large industry. The ratio of gypsum per lime mud can produce 8 formulas as follows 1:1, 1.5:1, 2:1, 3:1,4:1, 1:1.5, 1:2, and 1:3. The research discovered that (1) The appropriate proportion of using Lime mud as a co-raw-mate ri a I is 1.5 Gypsum : 1 Lime mud. (2) It seems that normal ceiling plate in the market and Lime mud ceiling plate have less different in strength at level 0.05 (household industry). (3) Lime mud ceiling plate may generate the higher expense than burial. However, the lime mud ceiling plate could be sold and generated an interest, in addition, it could have more value added, may have no need to search for a place to bury and should reduce the expense that is occurred from buryingen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84170.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons