Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11005
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดรุณี จำปาทอง | th_TH |
dc.contributor.author | ฉวีวรรณ เพชรดี, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-04T02:33:52Z | - |
dc.date.available | 2024-01-04T02:33:52Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11005 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลวัดบางนางบุญ จังหวัดปทุมธานี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม และ 4) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลวัดบางนางบุญ จังหวัดปทุมธานี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ความคิดและการคิด | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม เรื่อง เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนอนุบาลวัดบางนางบุญ จังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of Learning Management Based on Constructivism Theory in the topic of introduction to economics on learning achievement and problem solving thinking ability of Mathayom Suksa I students at Anuban Wat Bangnangbun School in Pathum Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to 1) compare the pre and post learning achievements of Mathayom Suksa I Students at Anuban Wat Bangnangbun School in Pathum Thani province using the Learning Management Based on Constructivism Theory; 2) compare the learning achievements of students who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory with those who learned under the traditional one; 3) compare the pre and post problem solving thinking ability of students using the Learning Management Based on Constructivism Theory; and 4)compare the students’ problem solving thinking ability of those who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory with those who learned under the traditional one. The sample of this study consisted of Mathayom Suksa I students in two intact classrooms in the second semester of the academic year 2019 at Anuban Wat Bangnangbun School. Each classroom consisted of 35 students obtained by cluster random sampling. One classroom was randomly assigned as the experimental group; while another classroom was the control group. The research instruments were lesson plans based on the constructivism theory and on the traditional one, a learning achievement test with the reliability value of .78 and a problem solving thinking ability test with the reliability value of .92. The statistics employed for data analysis were mean, standard deviation and t-test. The research findings revealed that 1) the post learning achievement of Mathayom Suksa I Students who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory was higher than their pre-learning counterpart achievement with a level of statistical significance at .05; 2) the learning achievement of those who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory was higher than those who learned under the traditional one with a level of statistical significance at .05; 3) the post problem solving thinking ability of students who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory was higher than their pre counterpart problem solving thinking ability with a level of statistical significance at .05 and 4) the problem solving thinking ability of students who learned by using the Learning Management Based on Constructivism Theory was higher than those who learned under the traditional one with a level of statistical significance at .05. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License