Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1101
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมทรง อินสว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิรัตนา สุขเกษม, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:45:36Z-
dc.date.available2022-08-27T02:45:36Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1101-
dc.identifier.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.253-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของผักบุ้งและผัก กระเฉดในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในนํ้าทิ้งจากระบบบำบัดนํ้าเสียแบบเอเอส (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้กับการไม่ใช้ผักบุ้ง และการใช้กับการไม่ใช้ผักกระเฉด ในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน่าทิ้งจากระบบบำบัดนำเสียแบบเอเอส (3) หาระยะเวลากักพักชลศาสตร์ที่เหมาะสมในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในนําทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบเอเอสโดยการใช้ผักบุ้งและผักกระเฉด (4) เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบเอเอสในแต่ละช่วงอายุการเจริญเติบโตของผักบุ้งและผักกระเฉด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผักบุ้งและผักกระเฉดในแหล่งน้ำแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี ไปทดลองในบ่อทดลองบึงประดิษฐ์ในการลดไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ในน้ำทิ้งจากระบบบัดน้ำเสียแบบเอเอส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผักบุ้งมีประสิทธิภาพในการลดไนโตรเจน และฟอสฟอรัส สูงกว่าผักกระเฉด (2) การใช้ผักบุ้ง หรือผักกระเฉดมีประสิทธิภาพในการลดไนโตรเจน และฟอสฟอรัสใกล้เคียงกับการไม่ใช้ผักบุ้ง หรือไม่ใช้ผักกระเฉด แต่การใช้ผักทั้งสองทำให้ซีโอดีมีค่าไม่เกิน มาตรฐาน ทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากลดภาวะสาหร่ายบานสะพรั่งลง (3) ระยะเวลากักพักชลศาสตร์ที่ 20 วัน เหมาะสมในการลดไนโตรเจน และฟอสฟอรัส โดยการใช้ผักบุ้งและผักกระเฉด (4) ช่วงอายุการเจริญเติบโตของผักบุ้ง และของผักกระเฉดที่ 60 วัน มีประสิทธิภาพในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดไนโตรเจนth_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดฟอสฟอรัสth_TH
dc.subjectผักบุ้ง--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectผักกระเฉด--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.titleการใช้ผักบุ้งและผักกระเฉดในการลดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบเอเอสth_TH
dc.title.alternativeUsing ipomoea aquatica forsk. and neptunia oleracea lour. for reducing nitrogen and phosphorus in effluent from activated sludge wastewater treatment systemth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.253-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were ; (1) to compare between the efficiency of Ipomoea aquatica Forsk and Neptunia oleracea Lour, for reducing nitrogen and phosphorus in effluent from activated sludge wastewater treatment system ; (2) to compare between the efficiency of with and without Ipomoea aquatica Forsk. and with and without Neptunia oleracea Lour, for reducing nitrogen and phosphorus in effluent from activated sludge wastewater treatment system ; (3) to find the appropriate hydraulic retention time (HRT) with Ipomoea aquatica Forsk. and Neptunia oleracea Lour.for reducing nitrogen and phosphorus in effluent from activated sludge wastewater treatment system ; and (4) to compare the efficiency of Ipomoea aquatica Forsk. and Neptunia oleracea Lour, for reducing nitrogen and phosphorus at each growth age. This research was a quasi- experimental research. The samples were Ipomoea aquatica Forsk. and Neptunia oleracea Lour, from a pond in Chonburi Province. They were grown in constructed wetland system for reducing nitrogen and phosphorus in effluent from activated sludge wastewater treatment system. Statistics used for data analysis was percentage, mean, standard deviation and analysis of variance. The research findings were ; (1) The efficiency of nitrogen and phosphorus reduction with Ipomoea aquatica Forsk. was better than with Neptunia oleracea Lour.; (2) The efficiency of nitrogen and phosphorus reduction with Ipomoea aquatica Forsk. or Neptunia oleracea Lour, was nearly similar to that of without Ipomoea aquatica Forsk. or without Neptunia oleracea Lour, but these two plants caused lower COD value which complied with wastewater standard of the factory due to less algae bloom ; (3) 20 days was the most appropriate HRT with Ipomoea aquatica Forsk and Neptunia oleracea Lour, for reducing nitrogen and phosphorus ; and (4) The growth age 60 days was the highest efficiency for reducing nitrogen and phosphorus with Ipomoea aquatica Forsk. and Neptunia oleracea Louren_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84174.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons