Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวินี ไพรทองth_TH
dc.contributor.authorสีรุ้ง สินตะคุ, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-01-08T07:56:10Z-
dc.date.available2024-01-08T07:56:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11045en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเเนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการของการลงโทษในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา (2) ศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษประหารชีวิตในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ (3) ศึกษาการนำโทษประหารชีวิตมาใช้กับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา (4) เสนอแนะแนวทางในการเเก้ไขปรับปรุงการนำโทษประหารชีวิตมาปรับใช้กับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากประมวลกฎหมาย หนังสือกฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกา บทความ วารสาร เอกสารข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งกฎหมาย ของประเทศไทย และกฎหมายของต่างประเทศ โดยน าข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบ เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ผลการศึกษาพบว่า (1) ประเทศไทยได้มีวิวัฒนาการการลงโทษในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรามาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (2) จากการศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษประหารชีวิตระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ พบว่าประเทศอียิปต์ได้นำโทษประหารชีวิตมาใช้กับผู้ที่กระทำความผิดฐานข่มขืน ประเทศอินเดียกำหนดให้ลงโทษประหารชีวิตในคดีที่ข่มขืนเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 12 ปี (3) ปัจจุบันการลงโทษประหารชีวิตในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราตามประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) ปี พ.ศ. 2562 กำหนดให้ลงโทษประหารชีวิตเฉพาะกรณีที่ผู้กระทำความผิดทำให้ผู้ถูกข่มขืนกระทำชำเราได้รับอันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตายเท่านั้น แต่การถูกข่มขืนกระทำชำเราถือเป็นสิ่งที่มีผลกระทบ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เมื่อถูกข่มขืนกระทำชำเราถือเป็นสิ่งที่ร้ายแรงที่สุดของผู้ถูกข่มขืนกระทำชำเรา จึงควรกำหนดกฎหมายให้มีโทษที่รุนแรง (4) เพื่อเป็นการป้องกันและยับยั้งมิให้เกิดการกระทำความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา จึงเสนอแนะให้มีการนำโทษประหารชีวิตมาปรับใช้กับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการประหารชีวิตและเพชฌฆาต--ไทยth_TH
dc.subjectการข่มขืน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการศึกษาการนำโทษประหารชีวิตมาปรับใช้กับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราth_TH
dc.title.alternativeStudy of the application of the death penalty to rapeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study intended to (1) Study concept theory and evolution of the punishment for the offense of rape (2) A study comparing the death penalty in the offense of rape between Thailand with foreign countries (3) Study of introducing the death penalty to be used with the offense of rape (4) Suggestions for ways to improve introducing the death penalty applied to the offense of rape. The independent study is a qualitative research using document research method from legal code, Supreme Court articles, journals, documents and informations from electronic media both the laws of Thailand and foreign laws by analyzing and comparing information to find conclusion and suggestion for the amendment of the law. The study found that (1) Thailand has evolved punishment for an offense of rape from the past to the present (2) From a study comparing the death penalty between Thailand and abroad because Egypt adopted the death penalty with the perpetrators of rape India imposes the death penalty in the case of child rape who are under 12 years old (3) The current death penalty in the offense of rape according to the Criminal Code (Edition 27) year 2019 determined to be sentenced to death only if the offender causing the raped only suffered serious harm or even death but the rape considered to have an impact both physically and mentally when raped in the most serious of the raped therefore the law should be imposed severe penalties (4) To prevent and deter not to cause any wrongdoing rape base therefore proposed the introduction of the death penalty applied to the offense of rape.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons