Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเอมอร บุตรแสงดี, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T02:54:40Z-
dc.date.available2022-08-27T02:54:40Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1104-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นหนทางสู่ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ ภายใต้นโยบายโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เป็นสถานบริการด่านแรกที่ใกล้ชิดประชาชน ทำหน้าที่ให้บริการแบบผสมผสานเป็นองค์รวมต่อเนื่องเน้นประชาชนมีส่วนร่วม และสถานบริการต้องมีการพัฒนาคุณภาพบริการให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งในปัจจุบันผลการดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน ของจังหวัดกาญจนบุรียังไม่ผ่านเกณฑ์ การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานประจำในศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 130 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์ โดยใช้ไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า จำนวนประชากรในความรับผิดชอบ และงบประมาณมีความสัมพันธ์กับมาตรฐานด้านบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านบริหารจัดการพบว่า จำนวนประชากรในความรับผิดชอบ จำนวนผู้มารับบริการ กำลังคน และสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมาตรฐานด้านวิชาการพบว่าการสนับสนุนด้านวิชาการและสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะ การให้แรงจูงใจแก่เจ้าหน้าที่ให้ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.245-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--การประเมินตนเองth_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--การทำงานth_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานโดยการประเมินตนเองของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe factors related to self-assessed performance standard by health personnel of primary care units in Kanchanaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.245-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePrimary Care Unit for good health care system in Universal Coverage Health Insurance policy, first line care, integrated care, holistic, continuity and community participation. Primary Care Unit has to develop the quality of services and standard but the goal to Primary Care Unit standard in Kanchanaburi province has not been achieve. The purpose of this survey research was to study the factors related to performance standard of health officers in Primary Care Unit. The study population was 130 health officers in Primary Care Unit Kanchanaburi province. Data was collected by using questionnaires , passed content validity and reliability analyze. Statistics used for the frequency mean, percentage, standard deviation and chi- square related analyse. The results of this research showed that population and budget were significantly related to service standard level 0.05. Management showed that population 1number of clients, number of health officer and working in relationship were significantly related level 0.05 and technical showed that technical support and working in relationship were significantly related level 0.05. Recommendations: Incentives providing to health office, technical knowledge and researchen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84175.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons