Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11125
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุทัย สุมามาลย์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-17T06:40:12Z-
dc.date.available2024-01-17T06:40:12Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11125-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า เรื่อง การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อาชีวศึกษาจังหวัดน่าน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิง ประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคน่าน ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 28 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาการโปรแกรมและ ควบคุมไฟฟ้า เรื่อง การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ จำนวน 3 หน่วย ประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 9 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า 1 ตัว หน่วยประสบการณ์ที่ 10 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าทำงานเรียงลำดับ และหน่วยประสบการณ์ที่ 11 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส เริ่มเดินด้วยการลดกระแสไฟฟ้า (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพของชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 81.05/80.53, 82.34/81.58 และ 80.12/80.00 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.7-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูป--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectนักศึกษาอาชีวศึกษา--การศึกษาและการสอน.--ไทย--น่านth_TH
dc.subjectมอเตอร์ไฟฟ้า--การควบคุมth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้าเรื่องการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อาชีวศึกษาจังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of experience-based instructional packages in programming and controlling electricity subject on electrical motor control with programmable controller for certificate students in Nan provincial Vocational Educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.7-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-fold; (1) to develop a set of experience-based instructional packages in Programming and controlling electricity Subject on Electrical motor control with programmable controller for Certificate Students in Nan Provincial Vocational Education on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of electrical certificate students learning from the experience-based instructional packages; and (3) to study the opinion of the electrical certificate students on the quality of experience-based instructional packages. The research sample were electrical certificate students of Program in Nan Technical College comprised 28 the thirst year students studying in the second semester of the 2009 academic year using the cluster random sampling technique. Research instrument comprise (1) three units of experience-based instructional packages in Programming and controlling electricity Subject on Electrical motor control with programmable controller, namely, Unit 9: One Electrical motor controller; Unit 10: Electrical motor controller by sequencial control; and Unit 11: three phase electrical motor controller by reduce starting current; (2) two parallel forms of an achievement test for Pre-testing and Post-testing; and (3) a questionnaire asking the students opinion on the experience-based instructional packages. Statistics for data analysis were E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 81.05/80.53; 82.34/81.58; and 80.12/80.00 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the experience-based instructional packages was at the "mostly agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons