Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1113
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเดช สิทธิพงศ์พิทยาth_TH
dc.contributor.authorอำภา ทองประเสริฐ, 2507-th_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T03:24:35Z-
dc.date.available2022-08-27T03:24:35Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1113en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกําลังกายของผู้เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพทั้งก่อนและหลังดําเนินโครงการ (2) ศึกษาเจตคติด้านการบริโภคอาหารและการออกกําลังกายของผู้เข้าร่วมโครงการหลังการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพ และ (3) ศึกษาการนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปปฏิบัติในครอบครัว หลังการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ ตัวแทนครัวเรือนในตําบลแม่สา อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 120 คน โดยสุ่มแบบหลายขั้นตอนเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นคู่มือการดําเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกําลังกาย และแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8547 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ วิเคราะห์ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและไคว์สแคว ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) พฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกําลังกายของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพก่อนและหลังดําเนินโครงการแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยหลังการดําเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกําลังกายดีกว่าก่อนการดําเนินโครงการ สําหรับพฤติกรรมสุขภาพด้านการ บริโภคอาหารและการออกกําลังกายของผู้ไม่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพก่อนและหลังดําเนินโครงการไม่แตกต่างกัน (2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีเจตคติที่ดีต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกําลังกายภายหลังเข้าร่วมโครงการ (3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีการนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปปฏิบัติในครอบครัวหลังจากเข้าร่วมโครงการแล้วth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.275en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ--ไทยth_TH
dc.subjectการออกกำลังกาย--ไทยth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่สา อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeStudy of changing food consumption and exercise behaviors of health promotion participants at Mea Sa sub-district Mae Rim district in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.275-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to compare food consumption and exercise behaviors of health promotion of participants and non-participants in health promotion program, both prior to and after the program implementation; (2) to study the attitude toward food consumption and exercise behaviors of participants after attending the health promotion program; and (3) to study household application of knowledge and understanding after attending the health promotion program. This study was a quasi-experimental research. The research samples were 120 representatives of households in Mae Sa Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province. They were selected through multi-stage random samplings and devided into 2 groups as the experimental group of 60 persons and the control group of 60 persons. The instruments used were the activity handbook for food consumption and exercise behaviors of health promotion, and a questionnaire developed by the researcher with reliability level at 0.8547. Statistics used to analyze the data were the percentage, mean, standard deviation, t-test and chi-square. The results of the study were as follows; (1) the participants’ food consumption and exercise behaviors in health promotion program improved significantly at the .05 level after participating the health promotion program. After the program implementation, participants had better food consumption and exercise behaviors than their pre-participating counterparts. While the food consumption and exercise behaviors of non-participants in health promotion program, prior and after the program implementation were not significantly different. (2) the participants had good attitude toward food consumption and exercise behaviors of health promotion after attending the program; and (3) participants brought knowledge and understanding produced by the program to practise in the household after attending the program.en_US
dc.contributor.coadvisorรัชนีกร โชติชัยสถิตย์th_TH
dc.contributor.coadvisorสุจิตรา หังสพฤกษ์th_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83311.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons