Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.contributor.authorปรีดี ยศดา, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T06:56:34Z-
dc.date.available2024-01-18T06:56:34Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11143-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังทดลอง และหลังทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนรับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวหนองและบ้านวังปลาโด อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับต่ำและปานกลาง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ในการคัดเข้าศึกษาเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบตามลำดับ จำนวนกลุ่มละ 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครอบคลุม 3 ปัจจัย ตามแนวคิดแบบจำลองพรีสีด-โพรสีดของกรีนและครูเตอร์ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย (1) แบบสอบถาม 2 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป และพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาและค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาคเท่ากัน คือ .80 (2) เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดปรอท และ (3) แบบบันทึกความดันโลหิตวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติการทดสอบที่สถิติการทดสอบวิลคอกซันแมทช์แพร์สซายน์แรงค์ และสถิติการทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า หลังทดลองกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง โดยรวมและรายด้านทุกด้านสูงกว่าก่อนทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีความดันโลหิตซิสโตลิกและไดแอสโตลิกต่ำกว่าก่อนทดลอง และมีความดันโลหิตซิสโตลิกลดลงมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ แต่ความดันโลหิตไดแอสโตลิกลดลงไม่แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeEffects of a behaviors developing program for prevention of stroke among patients with hypertension at Borabue District, Maha Sarakham Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental research were to compare the differences of stroke preventive behaviors and blood pressure in an experimental group before and after experiment, and after experiment between the experimental group and a comparison group. The sample comprised the hypertension patients who registered to Huanong sub-district health promoting hospital and Wangplado sub-district health promoting hospital, Borabue District, Maha Sarakham Province, and had stroke risk at the low and the moderate levels. They were selected by the purposive sampling technique as inclusion criteria to be put in the experimental group and the comparison group. There were 33 persons in each group. The experimental tool was the Behaviors Developing Program for Prevention of Stroke among Patients with Hypertension including three factors based on the PRECEDE-PROCEED model of Green and Kreuter. The data collecting tools were: (1) questionnaires including two parts: general data and stroke preventive behavior which values of CVI and Cronbach’s alpha were equal (.80), (2) mercury sphygmomanometer, and (3) a blood pressure data record form. Data were analyzed by descriptive statistics, t-test, Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks test, and Mann-Whitney U test. The results were founded as follows. (1) After experiment, overall and every aspect of stroke preventive behaviors of the experimental group were significantly higher than before experiment (p < .05), and were significantly increased more than the comparison group (p <.05). (2) After experiment, the systolic and the diastolic blood pressure of the experimental group were significantly lower than before experiment and systolic blood pressure of the experimental group significantly decreased more than the comparison group (p < .05), but the diastolic blood pressure did not significantly and differently decrease from the comparison group (p < .05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons