Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11147
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิริวิภา ปิงรัมย์, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T07:17:29Z-
dc.date.available2024-01-18T07:17:29Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11147-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 70 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม และสุ่มอย่างแบบง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 35 คน โดยกลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และกลุ่มควบคุมได้รับข้อสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม (2) แบบวัดความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ที่มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับ เท่ากับ .89 และ (3) โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ลดลงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมมีคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ลดลงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความวิตกกังวลในการสอบ--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎี เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเพื่อลดความวิตกกังวลในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบ TCAS ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package based on the rational emotive behavior theory for decreasing anxiety about entrance examinations to higher education institutions in the Thai University Central Admission System (TCAS) of Mathayom Suksa VI students at Nang Rong School in Buri Ram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare anxieties about entrance examinations to higher education institutions in the Thai University Central Admission System (TCAS) of the experimental group students before and after using a guidance activities package; and (2) to compare anxiety about entrance examinations to higher education institutions in the Thai University Central Admission System (TCAS) of the experimental group students with the counterpart anxiety of the control group students who received a guidance information program. The research sample consisted of 70 Mathayom Suksa VI students at Nang Rong School in Buri Ram province during the 2018 academic year, obtained by cluster sampling. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which consisting of 35 students. The experimental group used a guidance activities package based on the rational emotive behavior theory; while the control group received a guidance information program. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package based on the rational emotive behavior theory; (2) a scale to assess anxiety about entrance examinations to higher education institutions in the Thai University Central Admission System (TCAS), with the total reliability coefficient of .89; and (3) a guidance information program. Statistics used in data analysis included the mean, standard deviation, and t-test. The research results were as follows: (1) after the experiment of using a guidance activities package based on the rational emotive behavior theory, the post-experiment anxiety scores of the experimental group students decreased to be significantly lower than their pre-experiment counterpart scores at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment anxiety mean score of the experimental group students, who used the guidance activities package based on the rational emotive behavior theory, decreased to be significantly lower than the post-experiment counterpart mean score of the control group students, who received a guidance information program, at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons