Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสัญชัย ศิริสถิตย์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T07:29:08Z-
dc.date.available2024-01-18T07:29:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11150-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความแข็งแกร่งทางจิตใจของผู้ต้องขังกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจิตใจ (2) เปรียบเทียบความแข็งแกร่งทางจิตใจของผู้ต้องขังกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และกลุ่มควบคุมที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ต้องขังที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจิตใจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังเรือนจำกลางเชียงใหม่ แดน 4 จำนวน 30 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดความแข็งแกร่งทางจิตใจต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 และสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง จากนั้นจึงทำการสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดความแข็งแกร่งทางจิตใจที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 (2) การให้คำแนะนำปกติ และ (3) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจิตใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองผู้ต้องขังกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีความแข็งแกร่งทางจิตใจเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลอง ผู้ต้องขังกลุ่มทดลองมีความแข็งแกร่งทางจิตใจสูงกว่าผู้ต้องขังกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความพึงพอใจของผู้ต้องขังที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจิตใจอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectนักโทษ--ไทย--เชียงใหม่--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนวสุขภาพจิตth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจิตใจของผู้ต้องขัง เรือนจำกลางเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to enhance psychological hardiness of prisoners in Chiang Mai Central Prisonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare psychological hardiness scores of the experimental group prisoners before and after using a guidance activities package to enhance psychological hardiness; (2) to compare post-experiment psychological hardiness scores of the experimental group prisoners who used the guidance activities with the counterpart scores of the control group prisoners who received normal counseling; and (3) to study the satisfaction of prisoners with the guidance activities package to enhance psychological hardiness. The research sample consisted of 30 prisoners in Area 4 of Chiang Mai Central Prison, whose scores from the psychological hardiness assessment scale were below the 50th percentile, and who volunteered to participate in the experiment. Then, they were randomly assigned into the experimental group and the control group, each of which containing 15 prisoners. The employed research instruments were (1) a psychological hardiness assessment scale, with reliability coefficient of .93; (2) normal counseling information; and (3) a guidance activities package to enhance psychological hardiness. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings showed that (1) after the experiment, the experimental group prisoners who used the guidance activities package had the post-experiment psychological hardiness scores higher than their pre-experiment counterpart scores at the .01 level of statistical significance; and (2) after the experiment, the experimental group prisoners had psychological hardiness scores higher than the counterpart scores of the control group prisoners at the .01 level of statistical significance; and (3) the experimental group prisoners were satisfied with the guidance activities package to enhance psychological hardiness at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons