Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสารth_TH
dc.contributor.authorประพันธ์พงษ์ ใหม่เฟย, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T08:07:37Z-
dc.date.available2024-01-18T08:07:37Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11157en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) ความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการตลาดทุเรียนของเกษตรกร (3) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตและการตลาดทุเรียนของเกษตรกร (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการผลิตและการตลาดทุเรียนของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนที่ผ่านการขึ้นทะเบียนเกษตรกรในอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2561 จำนวน 1,708 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 182 คน โดยใช้สูตร Taro Yamane มีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ 7 และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรที่ปลูกทุเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50.68 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีรายได้จากการขายทุเรียนสดเฉลี่ย 778,109.89 บาทต่อปี โดยรายได้รวมจากภาคเกษตรรวมเฉลี่ย 846,852.61 บาทต่อปี รายจ่ายในการผลิตทุเรียนทั้งหมดเฉลี่ย 272,621.42 บาทต่อปี (2) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการตลาดทุเรียนด้านศัตรูพืชและช่องทางการขาย (3) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมการผลิตและการตลาดทุเรียนมากที่สุดด้านศัตรูพืช ด้านระบบมาตรฐานการผลิต ด้านการประชาสัมพันธ์ และด้านวิธีการส่งเสริมแบบรายบุคคล (4) เกษตรกรมีปัญหาด้านการผลิตและการตลาดด้านนํ้าและดิน ผลผลิตทุเรียนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ข้อเสนอแนะของเกษตรกรเสนอให้มีโครงการขุดบ่อนํ้าเพื่อการเกษตร และเกษตรกรเสนอให้ประชาสัมพันธ์ออกสื่อโทรทัศน์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectทุเรียน--การผลิตth_TH
dc.subjectทุเรียน--การตลาดth_TH
dc.subjectทุเรียน--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตและการตลาดทุเรียนของเกษตรกรอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeExtension of durian production and marketing of farmers in Lablae District, Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) socio-economic condition of farmers, (2) knowledge of durian production and marketing, (3) extension needs for the Durian production and marketing, and (4) the problems and suggestions on their durian production and marketing. The population consisted of 1,708 farmers officially registered as the farmers produced durian in Lablae district, Uttaradit province. The sample size of 182 persons was determined by Taro Yamane’s Formula and a simple random sampling method. Statistics used were frequency, percentage, average, maximum, minimum, standard deviation and ranking. Findings were as follows: (1) Most of the durian growers were male with the average age of 50.58 years and with primary school education. The average income of Durian selling was at 778,109.89 baht/year while the earning from overall production was at 846,852.61 baht/year and the durian production cost was 273,682.42 baht/year. (2) Farmers had knowledge for the production and marketing of durian on pests and sales channels. (3) Extension needs of these farmers were the production and marketing of durian in the field of pests. In terms of production standards public relations and the method of promoting individually. (4) Problems in production and marketing of water and soil and not enough Durian production were encountered. Farm well for agriculture project and public relations through television were proposed.en_US
dc.contributor.coadvisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริมth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons