Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระพงษ์ กำหนด, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T08:19:37Z-
dc.date.available2024-01-18T08:19:37Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11159-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (2) ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งความรู้ (3) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (4) เทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะจากเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ประชากรในการวิจัย คือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2560/61 ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรจำนวน 498 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร Taro Yamane มีความคลาดเคลื่อนร้อยละ 0.07 สุ่มอย่างง่ายได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 145 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.59 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประสบการณ์ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 11.29 ปี ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 882.75 กิโลกรัม/ไร่ รายได้จากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 41,154.25 บาท/ปี รายจ่ายจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 24,441.38 บาท/ปี (2) การได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารจากแหล่งความรู้สื่อมวลชน (3) เกษตรกรไม่มีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ดินก่อนปลูก เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมของภาคเอกชนในการปลูก เก็บเกี่ยวผลผลิตโดยใช้แรงงานคน และไม่มีการคัดแยกฝักเสียขณะเก็บเกี่ยว (4) เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้านการเตรียมเมล็ด โดยเกษตรกรเลือกใช้พันธุ์ลูกผสมที่เชื่อถือได้และมีมาตรฐาน มีอัตราความงอกสูง ต้านทานต่อโรครานํ้าค้าง เจริญเติบโตดี เหมาะกับสภาพดินฟ้าอากาศในแต่ละพื้นที่ และ (5) ปัญหาในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในการเตรียมเมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ไม่มีคุณภาพ ข้อเสนอแนะควรมีการเก็บเมล็ดพันธุ์ใช้เองและให้เจ้าหน้าที่เข้ามาส่งเสริมการเกษตรแนะนำการเก็บพันธุ์ไว้ใช้อย่างถูกวิธีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าวโพด--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--แพร่th_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeTechnology utilization of maize production for farmers in Sung Men District, Phrae Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study the farmers in Sung Men district, Phrae province on the following issues: (1) socio-economic condition, (2) knowledge of information from resources, (3) the condition of maize production, (4) Maize production technology, and (5) problems and suggestions in maize production. The population of 498 consisted of produce maize in Sung Men district, Phrae province who registered as rice growers of department of agriculture extension in the crop year 2018/19. The 145 sample size was based on Taro Yamane formula with error variance at 0.07 %. Structured interview was used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, average, minimum, maximum, standard deviation and ranking. The findings were as follows: (1) Most farmers were male with the average age of 49.59 years and finished high school. The average number of maize production experience, maize production quantity, income, and expenses were 11.29 years, 882.75 Kg/rai, 41,154.25 baht/ year, and 24,441.38 baht/year. (2) Knowledge of and information from media sources was accessed. (3) Farmers did not retain soils for the analysis before planting. They used hybrid seeds from private sectors. Harvesting products was by labor and no waste separation during the process was used. (4) Maize production technology usage was seed preparation. Farmers chose hybrid varieties that were reliable and standard also had a high germination rate and mildew resistant grown for the weather in each area. (5) Seed preparation in maize production was not good in quality. That seeds should be kept for their own use and the suggestions on how to keep the seeds for further use from the officers’ extension were neededen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons