Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อดิศักดิ์ สัตย์ธรรม | th_TH |
dc.contributor.author | วิชาฎา หนูเล็ก, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T03:37:29Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T03:37:29Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1115 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์การบริหารจัดการในหน่วยงาน ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกของศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี ในกระบวนการบริหารจัดการ 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดบุคลากร การอำนวยการ และการควบคุม (2) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพบริการของศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี ตามการรับรู้ของผู้รับบริการ ในด้านขั้นตอนการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาสถานการณ์การบริหารจัดการ คือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงาน 11 หน่วยงานที่ให้บริการผู้ป่วยนอกของศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี จำนวน 36 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคุณภาพบริการ คือ ผู้รับบริการ ซึ่งเป็นผู้ป่วยนอกจํานวน 360 คน เก็บรวบรวมข้อมูลสถานการณ์การบริหารจัดการ โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพบริการ โดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยง 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์การบริหารจัดการในหน่วยงานต่าง ๆ ยังไม่ดีเท่าที่ควร สำหรับการสำรวจคุณภาพบริการของศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีตามการรับรู้ของผู้รับบริการ พบว่า ด้านขั้นตอนการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้น ในการพัฒนาคุณภาพบริการ ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี จึงควรเริ่มตั้งแต่การปรับปรุงแก้ไขการบริหารจัดการ และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เน้นการมีส่วนร่วมทั้งหมด การใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมและมีการวัดผลที่ดี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.246 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี--การบริหาร | th_TH |
dc.title | สถานการณ์การบริหารจัดการและคุณภาพบริการของศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีตามการรับรู้ของผู้รับบริการ | th_TH |
dc.title.alternative | Management situation and services quality of Suratthani cancer center according to perceptions by out patients | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2004.246 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to investigate management situation in the outpatient department of the Suratthani cancer center, according to five step management procedures, namely , planning , organizing , staffing , directing , and controlling : and (2) to determine level of service quality of the Suratthani cancer center according to perceptions of customers towards process , personnel, and facilities. This research is a survey research. Sample groups employed in the investigation of management situation include 36 operation staffs who work in 11 sections that provide services for out patients of the Suratthani cancer center. And sample groups employed in the study of level of service quality are 360 customers who are out patients. Data involving management situation were collected by in-depth interview and observation while data involving service quality were collected using questionnaires with 0.83 level of reliability. Statistics used for research data analysis were percentage , mean , and standard deviation. Results indicated that management situation in all sections dose not meet the expectation.The survey of service quality of the Suratthani cancer center according to perceptions of customers indicated moderate satisfaction in process, personnel, facilities, and overall quality. Therefore, in order to improve service quality of the Suratthani cancer center one should start from the following steps : improving management, keeping the operation going continuously, stressing on participation among staffs, utilizing resources properly, and having good evaluation process | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ บุตราช | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License