Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ละเอียดอ่อน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T08:39:57Z-
dc.date.available2024-01-18T08:39:57Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11161-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการฟันฝ่าปัญหา และอุปสรรคของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค (2) เปรียบเทียบความสามารถในการฟันฝ่าปัญหา และอุปสรรคของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟัน ฝ่าปัญหาและอุปสรรคกับกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลลืออำนาจ จำนวน 60 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จัดนักเรียนเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย คือ ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการ ฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค กิจกรรมแนะแนวปกติ และแบบวัดความสามารถในการเผชิญ และฝ่าฟันอุปสรรค มีความเที่ยงเท่ากับ 98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและ อุปสรรค สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมี ความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.286-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectารแก้ปัญหา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลลืออำนาจจังหวัดอำนาจเจริญth_TH
dc.title.alternativehe effect of using a guidance activities package base for development of adversity quotient of Prathom Suksa VI Students at Anubanlue Lue-Amnat School in Amnat Charoen Academicth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.286-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the adversity quotient of the students in the experimental group before arid after using a guidance activities package based for develop adversity quotient; (2) to compare the adversity quotient of the students in the experimental group after using a guidance activities package based for develop adversity quotient and control group using a normal guidance package. The sample was chosen from the students in Prathomsuksa 6 at Anubanlue-amnat School in Amnatcharoen total 60 students academic using a purposive sampling technique. The sample was divided into the experimental group and control group. There were 30 students in each group. The data was collected by using a guidance activities package based for develop adversity quotient, a normal guidance package and the adversity quotient assessment form, the reliability of which measured by the a co-efficient was 0.98. The data was analyzed by using the mean, standard deviation and t-test. The findings were (1) the adversity quotient of the students in the experimental group increased significantly at the level of .01 and (2) The adversity quotient of the students in the experimental group was significantly higher than the control group at the level of .01en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons