Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลิน ริมปิกุลth_TH
dc.contributor.authorกานต์รวี มั่งมี, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T03:12:52Z-
dc.date.available2024-01-19T03:12:52Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11171en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจสถานการณ์การส่งเสริมการขายของเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลที่วางจำหน่ายในจังหวัดนนทบุรี 2) ศึกษาการรับรู้ต่อฉลากโภชนาการ 3) สำรวจพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล และ 4) ศึกษาปัจจัยด้านการรับรู้ต่อฉลากโภชนาการและการส่งเสริมการ ขายที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคครื่องดื่มที่มีน้ำตาลของประชาชนจังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ประชากร คือ ประชาชนในจังหวัดนนทบุรีที่มีอายุระหว่าง 18-60 ปี กลุ่มตัวอข่าง คือ ประชากรอาขุ 18-60 ปีที่มาใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 398 คน ตามสูตรการคำนวณ คอแครน 1997 ด้วยการเลือกแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ต่อฉลากโภชนาการและการส่งเสริมการขายที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ข้อมูลรูปแบบการส่งเสริมการขายครื่องดื่มที่มีน้ำตาลจากร้านสะดวกซื้อและซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) การส่งเสริมการขายเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลที่วางจำหน่ายในจังหวัดนนทบุรีมี 6 รูปแบบหลัก ได้แก่ การลด การแลก การแจก การแถม การใช้บรรจุภัณฑ์ และการใช้ประเด็นทางโภชนาการ 2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 71.74) ระบุว่า มีประสบการณ์ในการอ่านฉลากโภชนาการมากกว่า 6 เดือนขึ้นไป และร้อยละ 26.37 ของผู้มีประสบการณ์อ่านฉลากโภชนาการของเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิททุกครั้ง กลุ่มตัวอย่างมากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 77.66) เลือกอ่านฉลากโภชนาการรูปแบบตารางมากกว่าฉลากโภชนาการแบบจีดีเอ (ร้อยละ 22.34) โดยข้อมูลอาหาร 3 อันดับแรกที่ผู้บริ โภคให้ความสำคัญในการอ่าน ได้แก่ พลังงานทั้งหมด (ร้อยละ 82.85) น้ำตาล (ร้อยละ 74.43) และ ไขมัน (ร้อยละ 61.81) กลุ่มตัวอย่างที่สามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการแบบจีดีเอ ได้ถูกต้องมีร้อยละ 33. 17 แบบตารางมีเพียงร้อยละ 9.30 3) กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 12.06 ระบุว่าดื่มครื่องดื่มชา กาฟ โกโก้ สูตรปกติที่มีการใส่น้ำตาล (มากกว่า 1 ครั้งต่อวัน) และ4)ปัจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเดรื่องดื่มที่มีน้ำตาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)ได้แก่ อายุ ค่าดัชนีมวลกาย ความรู้ด้านการอ่านฉลากโภชนาการ และอิทธิพลของการส่งเสริมการขายที่มีต่อผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเครื่องดื่มth_TH
dc.subjectเครื่องดื่ม--การติดฉลากth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการขายth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจฉลากโภชนาการภาคบังคับและส่งเสริมการขายเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลกับพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeRelationship between understanding of mandated nutrition labels and sale promotion of sugary beverages with the beverage consumption behaviors of consumers in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: 1) classify the different patterns of sales promotions of sugary beverages in Nonthaburi markets, 2)investigate consumer awareness about nutrition label, 3) observe the consumption patterns of sugary beverages in Nonthaburi consumers, 4) examine the factors of nutrition label awareness and consumer perceptions about sales promotion that related to sugary beverages consumption in Nonthaburi consumers. Cross-sectional survey was conducted. The population employed for this research were Nonthaburi consumers at aged between 18 – 60 years. Cochran's was used in estimating sample sizes. Data were obtained from 398 respondents who shopped at two convenience stores. Questionnaire was used to assess the consumer’s nutrition label awareness and their perceptions about sugary beverage sales promotion. Descriptive and inferential statistics were used to calculate the results. This research also observed the pattern of sales promotion of sugary beverages at convenience store and super store. Data were collected and classified the major patterns of the current sales promotions of sugary beverages. The results showed that: 1) Six major sales promotion patterns about sugary beverages were found in Nonthaburi convenience stores and supermarkets including discount, redemption, giveaway, package deal, packaging design, and nutrition promotional, 2) Most respondents (71.74%) reported that they had more than six month experiences reading nutrition labels. Respondents, who had experiences reading nutrition labels, (26.37%) always read nutrition label of sugary beverages. Respondents usually read nutrition information panels (NIP) (77.66%) rather than Guideline Daily Amounts (GDA) nutrition labels (22.34%). Top three nutritional information that respondents usually read were “Calories” (82.85%) “Sugars” (74.43%) and “Total fat” (61.81%). Comprehension testing score on GDA nutrition labels were found higher than NIP nutrition labels, 3) Respondents (12.06%) had high frequent consumption (more than once a day) of sweetened-tea/coffee/chocolate drinks, 4) Age, Body Mass Index (BMI), nutrition label knowledge, and consumer perceptions about sales promotion had statistically significant (p<0.05) association with frequent consumption of sugary beverages in Nonthaburi consumersen_US
dc.contributor.coadvisorสำอาง สืบสมานth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons