Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ แตงตาดth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T06:33:20Z-
dc.date.available2024-01-19T06:33:20Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11193en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาประวัติดนตรีไทย เรื่องประวัติเครื่องดนตรีไทย สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี ภาควิชาศิลป นิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 (2) ศึกษา ความก้าวหน้าในการเรียนของนิสิตที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนิสิตที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตระดับปริญญาตรี ภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 43 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยนำไปทดลอง แบบเดี่ยว 3 คน แบบกลุ่ม 10 คน และภาคสนาม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดการ เรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาประวัติดนตรีไทย เรื่องประวัติเครื่องดนตรีไทย จำนวน 3 หน่วยได้แก่ หน่วยที่ 11ประวัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีดและเครื่องสี หน่วยที่ 12 ประวัติ เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีที่ทำจากไม้และหนัง หน่วยที่ 13 ประวัติเครื่องดนตรีไทยประเภท เครื่องตีที่ทำจากโลหะและเครื่องเป่า (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยชุดการเรียน ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการเรียนด้วยชุด การเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ E,/E2 ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาประวัติดนตรีไทย เรื่องประวัติเครื่องดนตรีไทย ที่ได้สร้างและพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 ตามลำดับ ดังนี้ 83.33/84.67, 85.00/85.00 และ 83.00/84.33 (2) นิสิตมีความก้าวหน้าทางการเรียนสูงขึ้นอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นิสิตมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.57en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectดนตรี--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--ไทยth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectดนตรี--การศึกษาและการสอน--ไทยth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.titleชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาประวัติดนตรีไทย เรื่องประวัติเครื่องดนตรีไทย สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeA computer-based learning package via network on the topic of history of Thai Musical Instrument, in the history of Thai Music Course, for Bachelor degree program students in the Department of Communication Arts, Faculty of Humanities, Kasetsart Universityth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.57-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop computer-based learning package via the network on the topic of history of Thai Musical Instruments for students in the department of Communication Arts, Faculty of Humanities, Kasetsart University with 85/85 in efficiency standard, (2) to study the history of Thai Musical Instruments for students learning from the computer-based learning packages via the network, and (3) to study the students' opinions on the computer-based learning package via network. The research sample consisted of 43 random multi-stage Bachelor Degree Program students in the department of Communication Arts, Faculty of Humanities, Kasetsart University. And then individual tried out with 3 students and small group tried out with 10 and field work tried out with 30 students to determine its efficiency. Research instruments were: (1) 3 units of computer-based learning package via network on the topic of History of Thai Musical Instruments, Unit 11 History of Thai Musical Instruments: Stringed Instruments and Bowed Stringed Instruments ;Unit 12 History of Thai Musical Instruments: Percussion Instruments made of wood and made of skin or leather ;and Unit 13 History of Thai Musical Instruments: Percussion Instruments made of metal and wind ; (2) an achievement test of computer-based learning package via the network; and (3) a questionnaire to assess students' opinions on the developed computer-based learning package via the network. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency indices, mean, standard deviation, and t- test. Research findings showed that: (1) computer-based learning packages via the network had the efficiency indices of 83.33/84.67, 85.00/85.00 and 83.00/84.33 respectively, meeting the 85/85 efficiency criteria; (2) students learning achievement increased significantly at the .05 level; (3) students had opinions that the developed computer-based learning package via network was highly appropriate for learningen_US
dc.contributor.coadvisorณรงค์ เขียนทองกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorภาคม บำรุงสุขth_TH
dc.contributor.coadvisorสมเชาว์ เนตรประเสริฐth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons