Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorเพ็ญศิริกรณ์ ประเทียบอินทร์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T07:06:10Z-
dc.date.available2024-01-19T07:06:10Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11199en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำนาม คำสรรพนาม และคำคุณศัพท์ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้า ในการ เรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็น ของ นักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดประสาทนิกร เขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 2 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 32 คน โดย สุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำนาม คำสรรพนาม และคำคุณศัพท์ จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วย ที่ 3 คำนาม หน่วยที่ 4 คำสรรพนาม และหน่วยที่ 5 คำคุณศัพท์ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนแบบคู่ขนาน และ(3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E, ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1)ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำนาม คำสรรพนาม และคำคุณศัพท์ ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 79.02/80.43,81.30/82.61และ 80.33/81.74 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นจากเดิม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.256en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่องคำนาม คำสรรพนาม และคำคุณศัพท์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeE-learning packages in the foreign language learning area on topic of noun, pronoun and adjective for Prathom Suksa Six Student in Chumphon Educational Service Area IIth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.256-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-folds; (1) To Develop E- Learning Packages for The Foreign Language Area on Topic of Noun ,Pronoun and Adjective For Prathom Suksa VI Student based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the progress of the students learning from the E-Learning Packages for The Foreign Language Area on Topic of Noun, Pronoun and Adjective ; and (3) to study the opinion of the students on the quality of E-Learning Packages for The Foreign Language Area on Topic of Noun, Pronoun and Adjective. Samples were PrathomSuksa VI pupils at Watprasatnigon School in Chumphon Educational Service Area Two who were studying in the Second Semester of Academic Year 2551 using the purposive sampling random technique. Research tools comprised (1) Three units of E-Learning Packages for The Foreign Language Area on Topic of Noun, Pronoun and Adjective, namely Unit 3: Noun; Unit 4: Pronoun; and Unit 5: Adjective; (2) Pretests and posttests in parallel forms; and (3) Questionnaires asking the students' opinion on the quality of E-Learning Packages for The Foreign Language Area on Topic of Noun, Pronoun and Adjective; and (4) Statistics used were E,/E2, t-test, percentage, and Standard Deviation. Findings: It was found that (1) the three units of E-Learning packages were efficient at 79.02/80.43, 81.30/82.61; and 80.33/81.74 respectively; thus meeting the set efficiency criterion at 80/80; (2) The learning progress of the students learning from E-Learning packages was significantly increased at the .05 level; and (3) The opinion of the students on the quality of E-Learning packages was "Highly Agreeable"en_US
dc.contributor.coadvisorชัยยงค์ พรหมวงศ์th_TH
dc.contributor.coadvisorนฤมล ตันธสุรเศรษฐ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons