Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเดช สิทธิพงศ์พิทยา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูนศิริ วัจนะภูมิ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา หังสพฤกษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรัตน์ วัชระนฤมล, 2502--
dc.date.accessioned2022-08-27T03:48:34Z-
dc.date.available2022-08-27T03:48:34Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1120-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตจุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักศึกษาสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก (2) ศึกษาคุณลักษณะของครอบครัวของนักศึกษาสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก (3) ศึกษาการใช้จ่ายของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก และ (4) ศึกษาคุณลักษณะของครอบครัวที่มีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในทุกคณะวิชา จำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน คือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานใช้ การทดสอบค่าไคสแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทิศทางเดียว ผลการวิจัยครั้งนี้ปรากฏว่า (1) นักศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20-22 ปี ได้รับค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือนจากบิดามารดา และอาศัยอยู่หอพัก (2) บิดามารดาและผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา มีอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจและ เกษตรกรรม โดยมีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ย 13,067 บาท ต่อเดือน เป็นประเภทครอบครัวเดี่ยว (3) นักศึกษาใช้จ่ายอยู่ระหว่าง 300-6,000 บาทต่อเดือน มีการวางแผนการใช้จ่ายเป็นบางครั้ง ไม่เคยซื้อ สินค้าแบบผ่อนชำระและแบบเงินเชื่อ ใช้จ่ายเป็นค่าอาหารเป็นส่วนใหญ่ และ (4) ภูมิหลังของ ครอบครัวบางปัจจัยการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวเดี่ยวกับการใช้จ่ายบางรูปแบบ และพฤติกรรมการ ใช้จ่ายในชีวิตประจำวันของครอบครัวมีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.277-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตตาก--นักศึกษาth_TH
dc.subjectนักศึกษา--การใช้จ่ายth_TH
dc.titleคุณลักษณะของครอบครัวที่มีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตากth_TH
dc.title.alternativeThe influence of family characteristics over student's expenses at Rajamangala Institute of Technology, Tak campusth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.277-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study (1) the private status of the students in Rajamangala Institute of Technology, Tak campus; (2) their family characteristics; (3) the expenses of the students; (4) the family characteristics that affects the expenses of the students in Rajamangala Institute of Technology, Tak campus. The samples of the research were the students in Tak campus composing students in all faculty in Tak campus; total number of students was 327. The instrument used was the questionnaire. The SPSS program for Windows was used to analyze the data. The percentage, mean, average and standard deviations were used to collect statistical information. One-way ANOV A and Chi-square were used to test hypothesis. The results of the study were (1) the student in Tak campus age between 20-22 mostly, lived in the dormitory and got monthly expenses from their parents; (2) most parents and guardians had a primary education, they were government officials, government corporation workers and agriculturalists, Other guardians had undergraduate degress and better educations, and the worked in private companies. The average family income was 13,067 bath per month. The family type was nuclear family. To manage the expenses, the sutdents sometimes decided how to spend the money by themselves. The parents always accepted the students' decisions. (3) the students' expense was between 300 - 6,000 bath per month. The student sometimes planed how to spend the money; they never bought merchandise by credit or period payment and spent the money mostly on food. (4) The family background, how to bring up the children and the daily spending behavior of the family influenced the expenses of the studentsen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83649.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons