Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชนากานต์ แท้วิริยะกุล, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-22T07:03:02Z-
dc.date.available2024-01-22T07:03:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11219-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาของรูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบ สถาบันโรคทรวงอก 2) พัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยสูงอายุที่ป่วยโรคนี้ และ 3) เปรียบเทียบการรับรู้สรรถนะแห่งตนและความพึงพอใจต่อรูปแบบการวางแผนจำหน่ายของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบระหว่างก่อนและหลังพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง แบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1) ระยะศึกษาปัญหา มี 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยอายุรกรรมปอดหญิงที่ร่วมระดมสมอง จำนวน 9 คน (2) ผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบที่ได้รับการสัมภาษณ์ จำนวน 6 คน และ (3) ผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบ จำนวน 35 คน 2) ระยะการพัฒนา เป็นพยาบาลวิชาชีพในหอป่วยอายุรกรรมปอดหญิง จำนวน 9 คน และ 3) ระยะทดลองใช้ เป็นผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบ จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ 1 ระยะศึกษาปัญหา และ 3) ระยะทดลอง ได้แก่ แบบประเมินการรับรู้สมรรถะแห่งตน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ดูแลต่อรูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผ่านการหาค่าความเที่ยง เท่ากับ .96 ทั้งสองฉบับ และ 2) ระยะการพัฒนา ได้แก่ รูปแบบการวางแผนจำหน่ายที่พัฒนาขึ้น และโครงการอบรมเรื่องการใช้รูปแบการวางแผนจำหน่าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบแมน-วิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาของรูปแบบการวางแผนจำหน่ายที่ใช้อยู่ แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านโครงสร้าง ได้แก่ มีนโยบายการวางแผนจำหน่ายแต่ไม่มีรูปแบบที่เป็นลายลักษณ์อักษรโดยขาดการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลและขาดอุปกรณ์การวางแผนจำหน่าย (2) ด้านกระบวนการ ได้แก่ ขาดขั้นตอนการปฏิบัติและการบันทึกการวางแผนจำหน่ายที่เป็นระบบ และ (3) ด้านผลลัพธ์ ได้แก่ ไม่มีประเมินผลอย่างเป็นระบบ 2) รูปแบบการวางแผนจำหน่ายที่พัฒนาขึ้น มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบตั้งแต่การประเมินผู้ป่วยและผู้ดูแล กาวินิจฉัย การวางแผนการร่วมกันระหว่างพยาบาล ผู้ป่วย และผู้ดูแล การปฏิบัติตามแผน และการประมินผล โดยการวางบูรณาการกับการใช้รูปแบบ D-METHOD และการเสริมสร้างพลังอำนาจ ร่วมกับการใช้แบบบันทึกการวางแผนจำหน่าย เอกสารวิธีการเคาะปอดระบายเสมหะ การใช้หุ่นจำลองสายยางให้อาหารและท่อเจาะคอ และ 3) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้สรรถนะแห่งตนและความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectปอดอักเสบth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การรับและการจำหน่ายผู้ป่วยth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลth_TH
dc.subjectโรคปอดอักเสบth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคปอดอักเสบ สถาบันโรคทรวงอกth_TH
dc.title.alternativeThe development of a discharge planning model for elderly patients with Pneumonia at Central Chest Institute of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to study problem situations of discharge planning for elderly patients with pneumonia at Central Chest Institute of Thailand, 2) to develop a discharge planning model of this hospital; and 3) to compare caregivers’ perceived selfefficacy and satisfaction toward discharge planning model between before and after developing the model. The samples whom were purposive sampling was divided into 3 phases. 1) Problem study phase included 3 groups: (1) nine professional nurses who worked for a female lung medical ward and attended brain storming, (2) six caregivers of elderly patients with pneumonia who were interviewed, and (3) thirty-five caregivers of elderly patients with pneumonia. 2) The development phase comprised nine professional nurses of this unit. 3) The trial phase included thirty-five caregivers of elderly patients with pneumonia. The research tools consisted of caregivers’ perceived self-efficacy and satisfaction toward discharge planning model questionnaires in phase 1) and phase 3) with equal reliability of 0.96, while the developed discharge planning model with training project for its application in the second phase. Data were analyzed by descriptive statistics, and Mann-Whitney-U Test. The research findings were as follows. 1) Problem situations of the discharge planning for elderly patients with pneumonia revealed into 3 aspects including (1) structure - the hospital had a discharge planning policy but without clear guidelines, caregivers’ cooperation, and related tools; (2) process -a discharge planning lacked of systematic procedures and recording; and (3) outcome - unless comprehensive evaluation. 2) The developed discharge planning model embraces systematical steps. These procedures begin patients and caregivers assessment; diagnosis; planning by nurses, patients, and caregivers; implementation; and evaluation which were integrated with the D-METHOD format and an empowerment concept along with discharge planning records, the lungs for drained secretion document, and the model of feeding and tracheostomy tube. 3) The mean score of perceived self-efficacy and satisfaction toward discharge planning model of caregivers after developing the model were significantly higher than before development at the level .05th_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons