Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชชุพร คุปตะวาทิน, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T03:53:45Z-
dc.date.available2022-08-27T03:53:45Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อการพัฒนาในการบริหารความเสี่ยงของการ ให้บริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก โดยศึกษาลักษณะ ชนิด ความถี่ของความคลาดเคลื่อนทางยาในกระบวนการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก การวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนทางยาและหาแนวทางป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนหาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลจากการบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาจากใบสั่งยาผู้ป่วยนอกทั้งหมด ส่งมาห้องจ่ายยา ในวันและเวลาปฏิบัติราชการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 มิถุนายน 2547 (ช่วงก่อน ดำเนินการ) และระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน 2547 (ช่วงหลัง ดำเนินการ) ลงในแบบฟอร์มบันทึกความคลาดเคลื่อนในการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ในการแจกแจงข้อมูลความคลาดเคลื่อน และใช้ในการเปรียบเทียบในเชิงปริมาณของความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นก่อนและหลังการดำเนินการป้องกันโรงพยาบาลต่อไป ผลการวิจัย หลังดำเนินการป้องกันความเสี่ยงแล้ว พบว่า ความคลาดเคลื่อนทางยาโดยรวมทุกขั้นตอนลดลงร้อยละ 38.71 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (prescribing error) ลดลงร้อยละ 64.39 ความคลาดเคลื่อนก่อนจ่ายยา (pre-dispensing error) ลดลงร้อยละ 23.19 และความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (dispensing error) ลดลงร้อยละ 13.33 ข้อเสนอแนะในการ ผลการวิจัยไปใช้ คือ การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานทุก ขั้นตอนและให้ผู้ปฏิบัติงานการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ เพื่อลดความเสี่ยงจากความคลาดเคลื่อนทางยา และพัฒนาคุณภาพการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.258-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectผู้ป่วยนอกth_TH
dc.titleการบริหารความเสี่ยงการบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกกรณีศึกษาโรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพกรมแพทย์ทหารเรือth_TH
dc.title.alternativeRisk management of out-patient drug dispensing service, case study at Bangkok Naval Hospital, Naval Medical Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.258-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารโรงพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research and development study was to manage the risks of out-patient drug dispensing service, case study at Bangkok Naval Hospital. The specific objectives were to determine types and frequency of medication error, to analyze the causes of medication error, and to prevent the risk of medication errors in out-patient drug dispensing work process. All prescriptions filled in the out-patient pharmacy between 1 st April - 30 th June 2004 (before implementing risk preventions) and during 1 st July - 30 th September 2004 (after implementing risk preventions) were audited to determine the rate of medication errors by recording the check sheet forms. The descriptive statistics of percentage was used to describe the data of medication errors and compare the quantity of changes after implementing risk preventions. After implementing risk preventions, the results shwed that total of medication errors in out-patient drug dispensing process decreased 38.71 percentages. The precribing errors decreased 64.39 percentages. The pre-dispensing errors decreased 23.19 percentages. The dispensing errors decreased 13.33 percentages. This study recommends that the out-patient drug dispensing should have the standard documents of the work instructions. All employees have to practice and follow that standard documents to prevent the risk of out-patient dispensing services and to be continuous quality improvement of servicesen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86588.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons