Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธำรงเจต พัฒมุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิวิรุฬห์ พีระเชื้อ, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-30T03:09:34Z-
dc.date.available2024-01-30T03:09:34Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11328-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้ของเกษตรกร เกี่ยวกับการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย 3) การปฏิบัติของเกษตรกรในการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย 4) ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชผักอย่างปลอดภัย ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง อายุเฉลี่ย 50.49 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.55 คน ประสบการณ์ในการปลูกผักและการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชผักเฉลี่ย 31.46 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร โดยเกษตรกรครึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ได้รับแหล่งข้อมูลความรู้ในระดับบ่อยๆ จาก อินเตอร์เน็ต จำนวนแรงงานในครัวเรือนที่ใช้ในการปลูกผักเฉลี่ย 1.45 คน มีการใช้แรงงานจ้างเพียงบางราย พื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมดเฉลี่ย 7.22 ไร่ เป็นของตนเอง พื้นที่ในการปลูกผักเฉลี่ย 2.10 ไร่ ในรอบปีการผลิตที่ผ่านมา เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกผักเฉลี่ย 4,385.83 บาทต่อรอบการผลิต รายจ่ายทั้งหมดที่ใช้ในการปลูกผักเฉลี่ย 1,525.20 บาท รายจ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชผักเฉลี่ย888.19 บาท 2) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในระดับมาก 3) เกษตรกรมีการปฏิบัติในการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นประจำ เกษตรกรทุกรายใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ส่วนใหญ่ใช้สารกำจัดแมลง 1 ครั้งต่อฤดูการผลิต ร้อยละ 7.9 เคยแพ้สารเคมี 4) เกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการซื้อสารเคมีในระดับมาก ส่วนความรู้ การปฏิบัติ และการเก็บรักษาสารเคมี อยู่ในระดับปานกลาง โดยเกษตรกรมีความต้องการให้ภาครัฐควรมีการควบคุมราคาของสารเคมี จัดหาสารเคมีทีมีคุณภาพให้แก่เกษตรกร การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย อีกทั้งควรส่งเสริมทางเลือกในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการอื่น ๆ ทดแทนการใช้สารมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์th_TH
dc.subjectสารฆ่าวัชพืชth_TH
dc.titleการใช้สารเคมีเพื่อการป้องกันและกาจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัยสำหรับการปลูกผักของกลุ่มเกษตรกรในอำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeSafely chemical application for vegetable pest control by farmers in Khun Tan district of Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the vegetable farmers as following aspects: 1) socio-economic status, 2) knowledge of safety chemical pesticide application, (3) practice of safety chemical pesticide application, and 4) the problem and needs in an extension of safety chemical pesticide application. The research samples were 127 vegetable farmers in Khun Tan District of Chiang Rai Province determined by using Taro Yamane’s formula with an error of 0.05 from the population of 187 farmers and simple random sampling was applies. The data were collected by a questionnaire and analyzed to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values. The research findings showed that 1) there were more male than female farmers with an average age of 50.49 years, finished higher secondary or vocational certificate, and had average 2.55 household members. Their experiences of growing vegetable and chemical pesticide application for an average of 31.46 years. Majority of them were members of farmer groups and a half of them was a member of The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. They received knowledge at frequently level from internet. They had an average 1.45 household labor for growing vegetable and only a few farmers hired paid labor. They owned 7.22 rai of total farm area and 2.10 rai for growing vegetable. The past production year, the average income of vegetable production was 4,385.83 baht per cropping period while the averages of total and chemical pesticide expenses were 1,525.20 and 887.19 baht. 2) They had knowledge of chemical pesticide application at high level. 3) They practiced frequently in chemical pesticide application based on recommendation by applied one time per production period and only 7.9 percent of them had problems of chemical toxic. 4) The problem of purchasing chemical pesticide was rated as high level; knowledge, practice, and chemical storage were indicated at moderate level. They needed that the government agency should control the price and supply the quality chemical pesticide; the training of correct and safety chemical pesticide application should be conducted, and alternative pest controls should informed for avoiding chemical pesticide applicationen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons