Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูนศิริ วัจนะภูมิth_TH
dc.contributor.authorสุดา แป๊ะป๋อง, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T04:25:49Z-
dc.date.available2022-08-27T04:25:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1132en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของครอบครัวที่กู้ยืมเงินกองทุน ปัจจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเงินกู้ยืม และลักษณะการจัดการเงินกู้ยืมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของครอบครัวที่กู้ยืมเงิน (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลระดับบุคคลที่ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษาอาชีพ รายได้ขนาดครอบครัวและประชากรวัยพึ่งพิงกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหนี้สินเดิมกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างประเภทการลงทุนกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน (5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์เดิมกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน และ (6) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนในการใช้จ่ายกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในอําเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานีที่กู้ยืมเงินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2545 จํานวน 337 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัจจัยที่สัมพันธ์กับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน ซึ่งมีความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ครอบครัวที่กู้ยืมเงินเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายเล็กน้อย ส่วนใหญ่มีอาชีพทําสวน (2) ปัจจัยระดับบุคคลไม่สัมพันธ์กับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุน (3) หนี้สินเดิมกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุนไม่มีความสัมพันธ์กัน (4) ประเภทการลงทุนกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุนมีความสัมพันธ์กัน โดยสมาชิกส่วนใหญ่จะลงทุนในอาชีพทําสวน คิดเป็นร้อยละ 50.2 (5) สินทรัพย์เดิมกับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุนมีความสัมพันธ์กัน โดยสมาชิกที่ลงทุนในอาชีพเดิมจะนําทรัพย์สินเดิมมาร่วมในการลงทุนด้วย (6) การวางแผนในการใช้จ่ายกับการจัดการการเงินกู้ยืมกองทุนมีความสัมพันธ์กัน โดยสมาชิกกองทุนที่มีการวางแผนการใช้จ่ายในระดับดีสามารถชําระคืนเงินกู้ยืมกองทุนได้เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 88.4th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectการกู้ยืม--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับการจัดการเงินกู้ยืมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของครอบครัวที่กู้ยืมเงินในอำเภอบ้านนาสารจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to management of loan given by village funds and city community loan program for familys at Bannasan district in Suratthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study general characteristics of families having Village-Funds loan program, their loan management factors and their management of loan given by Village-Funds and City Community loan program; (2) to study the relationships between personal data with sex, age, education degree, occupation, income, families' size, dependent members and loan management, (3) to study relationships between old debt and Village-Funds loan management; (4) to study relationships between types of investment and loan management; (5) to study in their old asset with loan given by village funds; and (6) to study relationships between money spending plan and Village-Funds money management. The samples consisted of 337 Village-Funds loan families in Bannasan District, Suratthani Province during the year 2001-2002. The instrument was the interview schedule on loan given by village funds with the level of reliability at 0.81. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results of this research were (1) the Village-Funds loan families were female more than male, mainly were gardeners; (2) personals' factor had not related with Village-Funds loan management; (3) the old debt was not related to loan management; (4) investment types and loan management were related, especially in gardener (50.2%); (5) their old asset and loan management were related, especially investment from old occupation and; (6) spent money in their plan and management were related, especially in a good plan which could return the village-funds loan (88.4%)en_US
dc.contributor.coadvisorสุชาดา สถาวรวงศ์th_TH
dc.contributor.coadvisorสุภมาส อังศุโชติth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83664.pdfเอกสารฉบับเต็ม937.43 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons