Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์th_TH
dc.contributor.authorโยธิน ทองจรัส, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-31T08:01:21Z-
dc.date.available2024-01-31T08:01:21Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11340en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบเกษตรกรผู้ปลูกลำไยที่มีการรวมกลุ่มและเกษตรกรทั่วไป ในประเด็นต่อไปนี้ (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตและการจำหน่ายลำไย (3) การปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และ (4) ปัญหา ข้อเสนอแนะและความต้องการในการส่งเสริมการผลิตลำไยคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน โดยอายุเฉลี่ย 55 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา รายได้หลักจากการทำนา ปลูกลำไยเป็นรายได้เสริม เฉลี่ย 43,776.00 บาท/ปี และ 45,238.81 บาท/ปี ตามลำดับ (2) เกษตรกร 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันในเรื่องการผลิตและการจำหน่ายลำไยเกือบทุกประเด็น ประกอบด้วย ขนาดและลักษณะพื้นที่ปลูก แหล่งน้ำ ระบบการให้น้ำ พันธุ์ วิธีการผลิต การลงทุน เครื่องมือ การใช้ปุ๋ย การใช้สารเคมี การจัดการศัตรูพืช ระยะเก็บเกี่ยว วิธีการจำหน่าย และราคาผลผลิต อย่างไรก็ตาม ประเด็นการฝึกอบรมและข่าวสารเกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เกษตรกรที่มีการรวมกลุ่มมีการได้รับมากกว่าเกษตรกรทั่วไป นอกจากนี้ การดำเนินการบริหารกลุ่มมีชัดเจนและมีการพัฒนาในเรื่อง การลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลผลิต และการพัฒนาคุณภาพผลผลิต (3) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มมีความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ประเด็นที่เกษตรกรต้องมีการปรับปรุง ได้แก่การสำรวจและการบันทึกการเข้าทำลายของศัตรูลำไย และการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร สำหรับการปฏิบัติตามแผนการควบคุมการผลิตลำไยคุณภาพ เกษตรกรสามารถปฏิบัติได้เป็นส่วนใหญ่ มีเพียงบางช่วง เช่น หลังการเก็บเกี่ยวควรมีการจัดการป้องกันกำจัดโรคและแมลง การป้องกันการแตกใบอ่อนด้วยการพ่นปุ๋ยทางใบก่อนการออกดอก และการจัดการต้นระยะออกดอกถึงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยการตัดแต่งช่อผล นอกจากนี้ เกษตรกรที่รวมกลุ่มมีการปฏิบัติมากกว่าเกษตรกรทั่วไป (4) ความต้องการของเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มในการผลิตลำไยคุณภาพได้แก่ แหล่งน้ำ การส่งเสริมการผลิตลำไยคุณภาพ และการสนับสนุนเทคโนโลยีก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectลำไย--ไทย--เชียงราย--การผลิตth_TH
dc.subjectลำไย--ไทย--มาตรฐานการผลิตth_TH
dc.titleการผลิตลำไยของเกษตรกรให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในอำเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines in quality Longan production by the Farmers in Mae Suai District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study and compare grouping and general longan farmers in the following aspects: (1) basic socio-economic conditions of farmers, (2) longan production and distribution by farmers, (3) the practices of farmers based on Good Agricultural Practice (GAP) standard, and (4) problems, suggestions, and needs of farmers regarding an extension of quality logan production. The population of this research consisted of 100 grouping longan farmers in Phaya Mengrai District, Chiang Rai Province which were selected to be 67 samples by using Taro Yamane’s formula with an error level of 0.05, and the other sample group was comprised of 67 general farmers nearby the grouping farmers. All samples were selected by simple random sampling method. Data were collected by using a questionnaire and analyzed to determine frequency distribution, percentage, range, mean, standard deviation, and Chi-square test. The research results were found that (1) there were no differences in social and economic conditions of both groups, as follows: they had an average age of 55 years, mostly finished primary education, main income was rice farming, and average annual incomes of longan produce were 43,776.00 baht and 45,238.81 baht respectively. (2) Both groups were not different in most aspects of longan production and distribution, such as plantation area size and characteristics, water sources and supplies, varieties, production methods, investment, tools, fertilizer and chemical applications, pest management, harvesting stage, selling method and price. However, the grouping farmers indicated higher level than general famers in training an information reception of GAP standard. Moreover the grouping farmers revealed that the group operations were clear; cost reduction, increasing produce, and quality production were developed. (3) Both groups mostly performed longan production based on GAP standard, except the aspects of hazardous agricultural supply application, pest survey and record which needed to be improved. They also conducted along with quality longan production control plan, except some production periods were needed to be improved, such as disease and insect control after harvesting, stopping young leaves by spraying foliar fertilizing before blooming, and tree management from blooming to harvesting periods by inflorescence trimming. Furthermore the grouping farmers conducted more practices based on the control plan than general farmers. (4) The needs of both groups for quality longan production were water sources, extension of quality longan production, and support of pre-harvesting and post-harvesting.en_US
dc.contributor.coadvisorพลสราญ สราญรมย์th_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons