Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศนันท์ อุปรมัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชรีญา เชื่อวิทยาวุฒิ, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-01T06:50:41Z-
dc.date.available2024-02-01T06:50:41Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11349-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา จำแนกตามข้อมูลทางประชากรศาสตร์ 2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา 3) ศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลาการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มประชากร ได้แก่ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ ในพื้นที่จังหวัดสงขลา กำหนดกลุ่มตัวอย่างประมาณค่าร้อยละ กรณีไม่ทราบประชากร ด้วยตารางสำเร็จรูปของคอนบราค ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด และการหาค่าการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีเพศ อายุ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ในจังหวัดสงขลา โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาดด้านบุคคล ด้านกระบวนการ ด้านลักษณะกายภาพ และด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา คิดเป็นร้อยละ 59.7 และ (3) ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีด้านการยอมรับเทคโนโลยี ด้านความปลอดภัย และความน่าเชื่อถือมีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา คิดเป็นร้อยละ 40.0th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการซื้อสินค้าทางไกลth_TH
dc.subjectการเลือกของผู้บริโภค--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting shopping via online applications of consumers in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to compare the level of opinions toward online application shopping of consumers in Songkhla Province, classified by the demographic factors; 2) to study the marketing mix factors affecting online application shopping of consumers in Songkhla Province; and 3) to study the technology acceptance factors affecting the online application shopping of the consumers in Songkhla Province. This study was the survey research. The population was unknown consumers who shops via online application in Songkhla Province. The sample size was defined and estimated using Cronbach’s finished table. The sample size of 400 people was acquired using purposive sampling method. A questionnaire was used as an instrument for data collection. Statistical analysis employed consists of frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, One-Way ANOVA, average pairwise comparison using Least Significant Difference, and determination of Multiple Regression Analysis The results indicated that: (1) the respondents with different gender, age, occupation, and monthly income had a different level of opinions toward the online application shopping in Songkhla Province at a statistical significance level of .05. (2) Marketing mix factors of price, marketing promotion, person, process, physical characteristic, and place; affected the online application shopping of the consumers in Songkhla Province for 59.7%. (3) Technology acceptance factors in technology acceptance, security, and reliability; affected the online application shopping of the consumers in Songkhla Province for 40.0%.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons