Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11351
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี สุรเชษฐ | th_TH |
dc.contributor.author | เชษฐา สายสุนทร, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-01T07:07:13Z | - |
dc.date.available | 2024-02-01T07:07:13Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11351 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีของกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 (2) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมทั้งของไทยและต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (4) หาแนวทางแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร ประกอบด้วยเอกสารที่เกี่ยวข้องทางวิชาการ ตำรา บทความ วารสาร รายงานวิชาการต่าง ๆ วิทยานิพนธ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทย และต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ผลการวิจัย ผลจากการศึกษาพบว่า (1) กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มีมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน ต่อมาถูกนำไปใช้ในประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินของประชาชน (2) จากการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายประเทศเกาหลีและประเทศญี่ปุ่นพบว่ามีกฎหมายรับรองให้บุคคลมีสิทธิเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินปฏิรูปด้วยตนเองไม่เกิน 18 ไร่ (3) ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 การโอนที่ดินหรือการแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม ทายาทที่ไม่ใช่เกษตรกรก็ไม่สามารถรับมรดกได้เพราะกฎหมายกำหนดให้บุคคลที่รับโอนที่ดิน ส.ป.ก. ก็ต้องเป็นเกษตรกรเท่านั้น (4) ควรแก้ไขกฎหมายเพื่อกำหนดให้การแบ่งแยกหรือการโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. สามารถโอนให้แก่กันได้ตามกฎหมายว่าด้วยกรรมสิทธิ์ หรือกำหนดให้ทายาทสามารถโอนรับโอนที่ดินที่เป็นมรดกได้ แม้ทายาทนั้นจะมิได้เป็นเกษตรกรก็ตาม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | กฎหมายที่ดิน | th_TH |
dc.subject | การปฏิรูปที่ดิน--ไทย | th_TH |
dc.subject | ที่ดินเพื่อการเกษตร--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 | th_TH |
dc.title.alternative | Legal issues regarding land rights under the Agricultural Land Reform Act, B.E. 2518 (1975) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The study aims to (1) study the history and theoretical concepts of laws on land rights under the Agricultural Land Reform Act, B.E. 2518 (1975); (2) explore the laws related to agricultural land reform both in Thailand and foreign countries; (3) analyze legal issues related to agricultural land reform; and (4)propose the suggestion for the amendments of the laws regarding agricultural land reform. The study is conducted by the qualitative and documentary research method by studying the relevant documents consisting of academic related documents, textbooks, articles, journals, researchreports, theses, electronic media, and relevant legal provisions of both laws of Thailand and foreign countries, for analysis and synthesis purposes leading toresearch findings. The results of the study found that: (1) Law on land rights relevant to agricultural land reform has been arisen since the Greek and Roman periods and was later used in France and Thailand with the objective of solving land problems of people. (2) According to a comparative study of Korean and Japanese laws, it is found that there are laws certifying a person having the right to own ownership of land reformed by themselves not more than 18 rai. (3) According to the Agricultural Land Reform Act, B.E. 2518, land transfer or land ownership separation cannot be transferred to one another, except for inheritance to statutory heirs. The heirs who are not farmers cannot inherit land because the law requires that the person receiving the land transfer must be a farmer only. (4) The law should be amended to stipulate that the separation or transfer of ownership of land can be transferred to one another under the law on ownership or requiring the heir to be able to transfer or inherit land even if he or she is not a farmer. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License