Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorพีรเดช ตะรุวรรณ, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-02-01T07:34:54Z-
dc.date.available2024-02-01T07:34:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11354en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการ ทฤษฎี หลักการทั่วไป และมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทแรงงาน (2) ศึกษาการอนุญาโตตุลาการ ในข้อพิพาทแรงงานตามกฎหมายประเทศไทยและกฎหมายต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบการอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทแรงงาน เพื่อเสนอแนะและหาแนวทางแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทแรงงาน โดยการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและค้นคว้าจากการรวบรวมข้อมูลจากตำรา หนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการและสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ ในทางกฎหมาย ตลอดจนข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศจากการศึกษาพบว่า (1) การอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาททางแรงงาน เป็นเรื่องกฎหมายได้บัญญัติเอาไว้แต่มีประเด็นที่ควรศึกษาอยู่หลายประการ อีกทั้งในการระงับข้อพิพาทรูปแบบนี้ยังขาดความตอบรับจากภาคส่วนต่างที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากประการแรก ขาดตัวบทกฎหมายที่มีความชัดเจนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรูปแบบและกระบวนการ ประการต่อมาในส่วน (2) องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาททางแรงงานยังไม่มีสถาบันวิชาชีพที่ชัดเจน และมีความเชี่ยวชาญและชำนาญเป็นการเฉพาะ เพื่อเป็นองค์กรหลักในการระงับข้อพิพาทแรงงานรูปแบบดังกล่าว ดังนั้นหากมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องจะส่งผลให้การอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาททางแรงงานเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินการและความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้อพิพาทแรงงานth_TH
dc.subjectอนุญาโตตุลาการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาททางแรงงานth_TH
dc.title.alternativeArbitration in labor disputesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is (1 ) to study the processes, theories, general principles, and standards of the international labor relating to labor dispute arbitration, and (2) to study the labor dispute arbitration in accordance with Thai laws and the foreign laws for the comparative analysis on the labor dispute arbitration in order to suggest and find a guideline for revising the laws relating to the labor dispute arbitration. This independent study is a qualitative research using the documentary study and research method through data collection from textbooks, books, articles, thesis, academic papers, and printed matters in laws, as well as electronic data both in Thai language and foreign languages. The finding of the studying results indicated as follows: (1) the labor dispute arbitration has been the matter enacted by laws but several issues should be studied. In addition, there has still been a failure of the related segments to accept this dispute settlement pattern. The causes of such failure are, a lack of the clear article of law in the part relating to the pattern and process, and in the part of (2) an unavailability of a clear professional institute with the specific expertise and specialization, in the organization relating to the labor dispute arbitration, to be a key organization in such labor dispute settlement pattern. Therefore, if the relevant laws are amended, it will result in more efficient action and reliable labor dispute arbitration.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons