Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอธิติยา ประวิง, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T02:45:45Z-
dc.date.available2024-02-02T02:45:45Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11370-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินสมรรถนะหลักพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญ (2) เปรียบเทียบประเมินสมรรถนะหลักพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน 670 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 250 คน โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มต้อย่างแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) ผลการประเมินสมรรถนะหลักของพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญ โดยภาพรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ ด้านคุณธรรมจริยธรรมรับผิดชอบต่อส่วนรวม ด้านการคิดนอกกรอบ/ริเริ่ม ด้านจิตสำนึกบริการ และด้านการจัดการความขัดแย้งในชุมชน ตามลำดับ (2) พนักงานเทศบาลที่อยู่ในส่วนราชการและตำแหน่งประเภทต่างกัน มีสมรรถนะหลักของพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักของพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญ มี 3 ประการ ได้แก่ 1) ควรจัดให้มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 2) ควรสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ควรจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ3) ควรสร้างกระบวนการมีส่วนรวมในการวางแผนการปฏิบัติงานให้เป็นไปในทิศทางเดียว ให้ความสำคัญและเปิดโอกาสกว้างในการแสดงความคิดเห็นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.subjectพนักงานเทศบาล--ไทย--อำนาจเจริญth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินสมรรถนะหลักของพนักงานเทศบาลในจังหวัดอำนาจเจริญth_TH
dc.title.alternativeAssessing the core competency of municipal employees in Amnat Charoen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were: (1) to assess the core competency of municipal staff in Amnat Charoen Province; (2) to compare the assessment of the core competency of municipal staff in Amnat Charoen Province classified by personal factors. (3) to study the guidelines for the development of core competency of municipal staff in Amnat Charoen Province. This research is a quantitative research. The population used in this study was 670 municipal employees in Amnat Charoen Province, a sample size was determined using the Taroyamane formula consist of 250 employees. The tools used in this research were questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. T-test and one-way analysis of variance. The results of the study found that (1) the results of the assessment of the core competency of municipal employees in Amnat Charoen Province ,the overall picture in 6 aspects is at a high level. When considering each aspect, it was found that working as a team on the accumulation of professional expertise morality, ethics, responsibility to the public Thinking outside the box/initiative service consciousness and the management of conflicts in the community, respectively. (2) Municipal employees in different government agencies and positions. The main competencies of municipal employees in Amnat Charoen Province differed statistically at the 0.05 level. (3) There are 3 guidelines for developing the core competency of municipal employees in Amnat Charoen Province as follows: First, provide knowledge necessary to work. Second, should create a learning organization. should provide an exchange of knowledge Third, should create a collective process in planning the operation in one direction. Give importance and open opportunities to express opinionsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168651.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons