Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพุทธิธร ลิมโกมลวิลาศ, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T06:34:41Z-
dc.date.available2024-02-02T06:34:41Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11383-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่ตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของรถยนต์ไฟฟ้า (3) ศึกษาการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (5) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่มีประสบการณ์ในการขับรถยนต์ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนกำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของคอร์แครน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 32-36 ปี สถานภาพโสดมีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้ 30,001 - 40,000 บาท (2) ผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาด การจัดจำหน่ายและราคา ตามลำดับ (3) ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อของการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ (5) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาดส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectรถยนต์--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectรถยนต์ไฟฟ้า--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting consumer purchase decision of electric vehicles in Generation Y consumersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed (1) to study the personal factors of Generation Y consumers who hold purchase decisions about electric vehicles. (2) to study marketing mix factors of electric vehicles. (3) to study consumer purchase decisions of the electric vehicle of generation Y consumers. (4) compare the differences in purchasing decisions of Generation Y consumers, classified by personal factors. and (5) study marketing mix factors affecting consumer purchase decisions of electric vehicles of generation Y consumers. This study was quantitative research. The population was Generation Y consumers in Bangkok with experience in driving, the exact size of which was unknown. The sample population size using Cochran’s formula was 400 which collected by a simple sampling method. The data collection tool was a questionnaire. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, and Multiple Regression Analysis. The results of the study found that (1) most of the survey respondents were male, aged between 32-36 years, single status, bachelor's degree, private company employees, and monthly income between 30,001 – 40,000 baht. (2) The majority of consumers rated importance to the overall marketing mix at the highest level. Considering each aspect, the average level of importance can be sorted from highest to lowest as follows: products, marketing promotions, distribution, and price, respectively. (3) The majority of consumers have the highest level of overall opinion toward purchase decisions of the electric vehicles. (4) Different personal factors; age, education level, occupation, and monthly incomes have the different purchasing decision of Generation Y consumers at a statistically significant level of 0.05. (5) marketing mix factors such as products, prices, distribution, and marketing promotion affect the decision to buy electric cars of Generation Y consumers, at a statistically significant level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168656.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons