Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณชัย บุตรทองดี, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T06:45:49Z-
dc.date.available2024-02-02T06:45:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11385-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ (1) เพื่อสำรวจระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่า (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่า จำแนกปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่า (4) เสนอแนะแนวทางการบริหารและการเพิ่มระดับผลสัมฤทธิ์ของกรมเจ้าท่า การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ข้าราชการของกรมเจ้าท่า จำนวน 1,255 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างได้ 301 คน โดยคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือการศึกษาที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่าอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคลในความแตกต่างทางเพศ อายุ และการศึกษาไม่ส่งผลต่อระดับความคิดเห็นต่อผลสัมฤทธิ์ของการบริหารงานของกรมเจ้าท่าที่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอายุราชการและมีเงินเดือนแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อผลสัมฤทธิ์ของการบริหารงานของกรมเจ้าท่าที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยการบริหาร ประกอบด้วย ด้านการจัดการ ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร และด้านวัสดุ อุปกรณ์ มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (4) ข้อเสนอแนะ ทางการบริหารเชิงนโยบาย ทำแผนแผนยุทธศาสตร์เพื่อเปลี่ยนกลยุทธ์การทำงาน วางแผนกลยุทธ์การทำงานให้เชื่อมโยงข้ามหน่วยงาน การกระจายอำนาจความรับผิดชอบ มีการวางแผนการใช้งบประมาณ พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอ ทางการบริหารเชิงปฏิบัติประกอบด้วย การมีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์ในการทำงานโดยผู้ปฏิบัติงาน การมอบอำนาจการสั่งซื้อสั่งจ้างและการบริหารพัสดุ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อน หางบประมาณจากแหล่งอื่นมาใช้ให้เพียงพอกับการปฏิบัติงาน เร่งบรรจุบุคลากรตำแหน่งที่ว่างและจ้างบุคคลภายนอกมาช่วยทำงานแทน มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ของเจ้าหน้าที่รุ่นเก่าสู่รุ่นใหม่ สร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมช่วยกันขับเคลื่อนภารกิจ มีการมอบรางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจและเป็นขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกรมเจ้าท่า--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleผลสัมฤทธิ์การบริหารงานของกรมเจ้าท่าth_TH
dc.title.alternativeAdministrative achievement of Marine Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to investigate a level of administrative achievement of Marine Department, (2) to compare the administrative achievement of Marine Department considering different personal factors (3) to study the relationship between administrative factors and administrative achievement of Marine Department and (4) to suggest the administrative approach to increase administrative achievement of Marine Department The study was a quantitative research by randomly selecting 301 government officers of Marine Department out of total number of 1,225 based on Taro Yamane’s formula. Research tool was a questionnaire. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and Pearson Correlation Coefficients. The results found that: (1) The level of administrative achievement of Marine Department was at high level. (2) Personal factor in differences of gender, ages, and education effacting the opinion levels of administrative achievement of Marine Department, whereas the differences of employment duration and salary yield effacting the opinion levels of administrative achievement of Marine Department with statistically significant at level of 0.05. (3) Administrative factors consisted of management, budget, personnel, and equipment related to the administrative achievement of Marine Department with statistically significant at level of 0.01. (4) The suggestion in policy management consisted of: making a strategic plan to change the work strategy, planing a work strategy to link between internal departments, decentralizing in responsibility, having a budget plan, developing a human resource management system, providing enough materials and equipment, and in practical management consisted of: formulating work strategies by involved workers, empowering in orders, contracts and supplies management, supporting budgets from other sources to be sufficient for the operation, recruiting for vacant positions and outsource be accelerated, managing the knowledge of work be carried out to a new generation, making team-work culture to catalystics, and rewarding to motivation and motivating in performanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168662.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons