Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดาริกา พงษ์เผ่าพงษ์, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-06T03:35:34Z-
dc.date.available2024-02-06T03:35:34Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11413-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำนักบก จังหวัด/ชลบุรี ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่องปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก 2) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก และ 3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลกที่พัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำนักบก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563จังหวัดชลบุรี จำนวน 21 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก 2) แบบประเมินความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) บันทึกหลังสอน 5) วีดิทัศน์บันทึกการสอน และ6) ใบกิจกรรมของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ความถี่ ร้อยละ และความก้าวหน้าทางการเรียนผลการวิจัยพบว่า 1) ก่อนเรียนนักเรียนมีความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปรับปรุง จำนวน 21 คน (ร้อยละ 100.00) หลังเรียนนักเรียนมีการพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น ดังนี้ อยู่ในระดับดี จำนวน 7 คน (ร้อยละ 33.33) อยู่ในระดับพอใช้ จำนวน 13 คน (ร้อยละ 61.19) และอยู่ในระดับปรับปรุง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.76) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเมื่อคิดระดับความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน พบว่า มีความก้าวหน้าทางการเรียนรายชั้นอยู่ในระดับปานกลาง ( = 0.37) 3) แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานที่ช่วยพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ มีดังนี้ (1) การอธิบายองค์ประกอบของคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์อย่างชัดเจนช่วยส่งเสริมการเขียนคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์หลังจากการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ (2) การเขียนแผนผังแนวคิดแสดงความเชื่อมโยงข้อมูลเชิงประจักษ์ช่วยให้นักเรียนสามารถเลือกข้อมูลที่เหมาะสมในการเขียนคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ และ (3) การนำเสนอและอภิปรายส่งเสริมการเขียนข้อกล่าวอ้างของนักเรียนให้เหมาะสมมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ --การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) --ไทย --ชลบุรีth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำนักบก จังหวัดชลบุth_TH
dc.title.alternativeThe development of scientific explanation ability and learning achievement using model-based learning management in the topic of Phenomena and Global Changes of Prathom Suksa VI students at Wat Samnakbok School in Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to develop a scientific explanation ability of Prathom Suksa VI students at Wat Samnakbok School Chonburi Province by using model-based learning in the topic of Phenomena and Global Changes; 2) to develop learning achievement of Prathom Suksa VI students by using a model-based learning in the topic of Phenomena and Global Changes; and 3) to study good teaching practices of model-based learning in the topic of Phenomena and Global Changes for developing the scientific explanation ability of Prathom Suksa VI The research sample consisted of 21 Prathom Suksa VI students studying in the first semester of the academic year 2020 at Wat Samnakbok School, Chonburi province, obtained by purposive sampling. The employed research instruments were 1) a model-based learning lesson plan in the topic of Phenomena and Global Changes, 2) a scientific explanation ability test, 3) a learning achievement test, 4) a teacher’s reflective journal, 5) video recordings of classroom instructions, and 6) student worksheets. The data was analyzed using the content analysis, frequency, percentage and class normalized gain. The results of this research showed that 1) in the pre-learning, 21 (100.00 percent) students’ scientific explanation ability was at an improvement level while in the post-learning, students developed their scientific explanation ability as follows: 7 students (33.33 percent) were at a good level, 13 students (61.19 percent) were at a moderate level, and 1 student (4.76 percent) was at an improvement level. 2) The students’ post-learning achievement was higher than the pre-learning counterpart, andthe class normalized gain was at the medium level with <g> = 0.37. 3) The good teaching practices in learning management using a model-based to help develop the scientific explanation ability were: (1) clarifying the elements of scientific explanation encouraging the writing of scientific explanations after a scientificinquiry; (2) writing an empirical concept map enabling students to select the appropriate information for writing scientific explanations, and (3) presenting and discussing issues encouraging more appropriate writing of student claimsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons