Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11417
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรผ่อง มยูขโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิศานาถ รัตนพันธุ์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-06T06:45:58Z-
dc.date.available2024-02-06T06:45:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11417-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธํิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการทำงานจิตรกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องงานจิตรกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า (1) ทักษะการทำงานจิตรกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องงานจิตรกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectทักษะการเรียนth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์เรื่องงานจิตรกรรมที่มีต่อทักษะการทำงานและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of learning management based on Davie's instructional model on work performance skill and learning achievement of Mathayom Suksa III students in Schools under the Secondary Education Service Area Office 3, Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) to compare performance of Psychomotor Domain Painting Subject for Mathayom Suksa 3 students between Learning Management Based on Davie’s Instructional Model and Learning Management Based on the conventional., and 2) to compare on Learning Achievement for Psychomotor Domain Painting Subject for Mathayom Suksa 3 students between Learning Management Based on Davie’s Instructional Model and Learning Management Based on the conventional The sample group were Mathayom Suksa 3 students who studying in the Psychomotor Domain Painting Subject in Moderate Class, More Knowledge in first semester of academic year 2017 select from the simple random sampling method by lottery, Experimental group for 1 class of Learning Management Based on Davie’s Instructional Model , The research instruments were Learning Management Based on Davie’s Instructional Model, Test of Learning Achievement and Skill assessment form for Psychomotor Domain Painting Subject. Data were analyzed by mean, Standard Deviation and t-test. The results of this research were as follows: 1) Performance of Psychomotor Domain Painting Subject for Mathayom Suksa 3 students on Learning Management Based on Davie’s Instructional Model have average higher than Learning Management Based on the conventional at 0.5 significant level, and 2) Achievement for Psychomotor Domain Painting Subject for Mathayom Suksa 3 students on Learning Management Based on Davie’s Instructional Model have average higher than Learning Management Based on the conventional at 0.5 significant levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156768.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons