กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11424
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ศรีดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิทยาธร ท่อแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิษฐา หรุ่นเกษม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐฐิญา พัวรุ่งโรจน์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-06T07:38:03Z-
dc.date.available2024-02-06T07:38:03Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11424-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขท้ยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรณรงค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยเกี่ยวกับ 1) สถานการณ์ สภาพปัญหาของนโยบายและยุทธศาสตร์ 2) ยุทธศาสตร์ 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ผลการวิจัย พบว่า 1) สถานการณ์ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการดำเนินการตามพระราชบัญญัติและยุทธศาสตร์ระดับชาติและตามพันธกิจของหน่วยงาน ผู้กำหนดนโยบายระดับหน่วยงาน คือ ผู้บริหารนำลงสู่การปฏิบัติตามสายงาน มีการใช้สื่อรณรงค์ที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายในตัวเมือง แต่ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับชุมชน ปัญหาด้านนโยบาย คือ พระราชบัญญัติไม่มีการกำหนดแนวทางนโยบายด้านการสื่อสาร ปัญหาด้านยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ระดับชาติไม่ได้กำหนดแผนปฏิบัติงานด้าน การสื่อสารและระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน ส่งผลให้ระดับหน่วยงานในระดับปฏิบัติขาดทิศทางในการกำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสาร นอกจากนี้ยังพบปัญหา ด้านเจ้าหน้าที่ในระดับจังหวัดยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการสื่อสารและกรบวนการการรณรงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงปัญหา 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสื่อสารรณรงค์ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบมีเพียงยุทธศาสตร์การดำเนินงานภายใต้กรอบนโยบายยุทธศาสตร์ระดับชาติและระดับหน่วยงาน และมีการประเมินผลการดำเนินงานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยยึดการวัดผลประเมินจากสถิติการตั้งครรภ์ ใช้กลยุทธ์การสร้างความร่วมมือ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในรูปแบบภาคีเครือข่ายทั้งระดับประเทศและระดับจังหวัด และใช้กลยุทธ์การสร้าง การรับรู้และสร้าง ความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นเนื้อหาด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ใช้การฝึกอบรมเป็นกิจกรรมหลักและใช้ สื่อมวลชน สื่อสังคมออนไลน์เป็นสื่อเสริมแต่ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะในระดับจังหวัดและชุมชนที่สื่อพื้นบ้าน มีบทบาทสำคัญต่อการรับรู้และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ รัฐบาลควรเพิ่มนโยบายด้านการสื่อสารในพระราชบัญญัติและยุทธศาสตร์ระดับชาติและร่วมกับองค์กรภาครัฐด้านการสื่อสารในการกำหนดทิศทางการสื่อสารในการแก้ไขปัญหา หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและหน่วยงานเครือข่ายทุกระดับควรร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารของเจ้าหน้าที่ที่ทำการรณรงค์อย่างเป็นระบบ ส่วนข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ คือ หน่วยงานรับผิดชอบหลักและหน่วยงานเครือข่ายควรร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์และวางแผนการปฏิบัติงานรณรงค์ทั้งในระดับส่วนกลาง ระดับจังหวัดและระดับชุมชนด้วยกลยุทธ์ การสร้างความเข้าใจ การรับรู้ โดยเน้นกิจกรรมการฝึกอบรมกับกลุ่มเสี่ยง และใช้สื่อมวลชน สื่อสังคมออนไลน์สื่อพื้นบ้านผสมผสานให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในทุกระดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectครรภ์ในวัยรุ่น--การป้องกันth_TH
dc.titleนโยบายและยุทธศาสตร์การรณรงค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativePolicies and strategies in the campaign to prevent and solve the problem of teen pregnancy in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the campaign to prevent and solve the problem of teen pregnancy in Thailand, in terms of 1) the situation and problems with the present policies and strategies; 2) the strategies; and 3) recommendations to improve the policies and strategies. This was a qualitative research based on documentary research and in-depth interviews. The key informers were 8 administrators and personnel of agencies charged with addressing this problem, and 13 students and 3 teachers from the 3 provinces with the highest rate of teen pregnancies in 2014, chosen through purposive sampling from among the group of students and teachers who participated in teen pregnancy prevention campaign activities. The research tool was an in-depth interview form. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that 1) the policies and strategies of all the related agencies were followed the related legislation and the national strategies as well as each agency’s missions. The agency-level policy makers were the administrators and they implemented the policies by delegating work along the chain of command. The agencies used media for the campaign that were compatible with the target groups in urban areas but did not cover all target groups at the community level. The problem with policy was that the related legislation did not outline a communications strategy. The problems with strategies were that the national level strategy did not include a communications action plan, nor did it specify exactly which agencies were responsible for what. As a result, in practice the agencies lacked direction for setting appropriate communications policies and strategies. Also, provincial level personnel lacked skills and experience in communications and in campaigning to build understanding and awareness of the problem. 2) Campaign communication strategies were not set in the action plans of the related agencies; they only had operational strategies under the framework of the national-level and agency-level strategies. Their work results were evaluated qualitatively and quantitatively based on teen pregnancy statistics. They used the tactic of building cooperation among workers in the form of alliance networks at the national and provincial levels. They used the tactic of building awareness and understanding among target groups by emphasizing content about preventing and solving the problem, using training sessions as the main activity. They used the mass media supplemented by social media, but this did not reach every target group, especially on the provincial and community level, where local folk media play an important role in spreading knowledge and changing behavior. 3) Recommendations are that the government should add communications policies into the relevant acts of parliament and the national strategy, and should join government organizations in charge of communications to set a direction for communications to be used in solving the problem. The relevant agencies and their allies at every level should jointly set a plan to systematically develop the communication skills of the personnel involved in the campaign. The relevant agencies and their allies should jointly set a strategy and action plans for the campaign at the central level, the provincial level and the community level. The strategy should comprise action plans to build awareness and understanding, with an emphasis on training for at-risk teens, and should employ a mix of mass media, social media, and folk media that is suited to all the target groupsen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Comm-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
157120.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons