Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์th_TH
dc.contributor.authorกาญจนา หักทะเล, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T06:31:15Z-
dc.date.available2022-08-27T06:31:15Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1145en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการอ้างถึงที่ปรากฏในบรรณานุกรมในวิทยานิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือในด้านจำนวนการอ้างถึง ประเภท ขอบเขตเนื้อหา ภาษา และอายุของเอกสารที่ได้รับการอ้างถึง ประชากรที่ใช้การวิจัย ได้แก่ วิทยานิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2546-2550 จำนวน 924 ชื่อเรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์ และแบบบันทึกข้อมูลเอกสารที่ได้รับการอ้างถึง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า การอ้างถึงในวิทยานิพนธ์ มีจำนวนทั้งสิ้น 56,944 รายการ ประเภทของเอกสารที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดคือหนังสือ เอกสารที่ได้รับการอ้างถึงมีขอบเขตเนื้อหาในสาขาบริหารการศึกษา โดยจำแนกเป็นด้านหลักและกระบวนการบริหารการศึกษา ด้านการบริหารจัดการการศึกษา และด้านการบริหารทรัพยากร ตามลำดับ ภาษาของเอกสารที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดคือภาษาไทย และอายุของเอกสารที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุด คือ กลุ่ม 6-10 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.7en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการอ้างถึงทางบรรณานุกรมth_TH
dc.subjectวิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การอ้างถึงในวิทยานิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2546-2550th_TH
dc.title.alternativeCitation analysis of educational administration theses, Rajabhat Universities in Northeastern Region, 2003-2007en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.7-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to analyze the bibliography citations in the educational administration theses of Rajabhat Universities in the Northeastern Region. The study counted the total amount of citations made in these theses and determined the type, content area, language, and age of the cited documents. The population of this study consisted of 924 master’s theses disseminated in the period 2003 to 2007. The research instruments were two record forms, one was used to study the theses and the other was used to analyze the bibliography citations. Statistics used for data analysis included frequency, percentage and mean. The findings showed that the total amount of bibliography citations of 924 master’s theses was 56,944 items . The analysis of these citations showed that books were the most cited type of document. The content area of cited documents was concentrated in educational administration, which included the following subfields: principles and processes of educational administration, educational management, and educational resource management. The majority of cited documents were in the Thai Language. The age of the most cited documents was 6 to 10 years.en_US
dc.contributor.coadvisorจันทิมา เขียวแก้วth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons