Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11480
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นัยนา ธัญธาดาพันธ์, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-15T04:22:17Z | - |
dc.date.available | 2024-02-15T04:22:17Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11480 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักต่อความรู้ของผู้ดูแล 2) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักต่อความสามารถในการดูแลของผู้ดูแล และ 3) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้สูงอายุก่อนและหลังได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างได้รับการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุผ่าตัดกระดูกสะโพก จำนวน 30 คน และ 2) กลุ่มผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพกในโรงพยาบาลสตูล จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดทฤษฎีการเสริมสร้างพลังอำนาจของกิบสันเป็นแนวทาง เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล มี 2 ส่วน ได้แก่ 1) แบบประเมินความรู้ความสามารถของผู้ดูแลมี 3 ส่วน ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแล (2) แบบประเมินความรู้ของผู้ดูแลในการดูแลผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัด และ (3) แบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัด และ 2) แบบประเมินการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้สูงอายุที่ผ่าตัดกระดูกสะโพกหัก ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติการทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ดูแลในกลุ่มทดลองมีความรู้มากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ 2) ผู้ดูแลในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ 3) ผู้สูงอายุในกลุ่มทดลองมีการฟื้นสภาพหลังการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (P< 0.05) ส่วนความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันหลังผ่าตัดทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ผู้ดูแลผู้สูงอายุ--ไทย--สตูล | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ--การดูแล | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | การดูแลหลังศัลยกรรม | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลต่อความรู้ความสามารถในการดูแลและการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้สูงอายุที่ผ่าตัดกระดูกสะโพกหัก โรงพยาบาลสตูล | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of caregivers empowerment program on knowledge, caring capabilities and postoperative recovery in older patients undergoing hip fracture, Satun Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This quasi-experimental research aimed to investigate 1) the effects of caregivers empowerment program on caregiver’s knowledge 2) the effects of caregivers empowerment program on caregiver’s caring capabilities and 3) the effects of caregivers empowerment program on postoperative recovery in older patients undergoing hip fracture. Purposive sampling with inclusion criteria was divided into two groups 1) caregiver 30 Persons and 2) older patients undergoing hip fracture in Satun Hospital 30 persons. The research tool for using in experimental group was the empowerment program developed by researcher based on Gibson’s empowerment concept. The research tool for collecting data were the questionnaire for knowledge, caring capabilities and postoperative recovery data form. There was a content validity index between .80-.90. The data were analyzed by descriptive statistics, and inferential statistics, Paired t-test. The results revealed that 1) caregivers in the experimental group had higher knowledge than the control group 2) caregivers in the experimental group had higher caring capabilities knowledge than the control group and 3) The older patients in the experimental group had postoperative recovery higher than the control group with statistical significant (p<0.05). However, the postoperative ability to perform daily activities were not different between the two groups. | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161781.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 29.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License