Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวรรณา อินทอง, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T06:43:32Z-
dc.date.available2024-02-19T06:43:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11503-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาล ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรม และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาลที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับพยาบาลที่ได้รับคำแนะนาตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่ปี 2561 ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จำนวน 20 คน ที่มีคะแนนความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมเรียงจากน้อยไปหามาก แล้วสุ่มตัวอย่างด้วยการจับฉลาก เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาล กลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาล (2) การให้คำแนะนำตามปกติ และ (3) แบบวัดความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาล ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ มัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) พยาบาลที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว มีความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) พยาบาลที่ใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวมีคะแนนความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมสูงกว่าพยาบาลที่ได้รับคาแนะนาตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้เรื่องนวัตกรรมของพยาบาล ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to develop innovation literacy of nurses at a hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of innovation literacy of nurses before and after using a guidance activities package to develop innovation literacy; and (2) to compare the innovation literacy level of the nurses who used the guidance activities package to develop innovation literacy with the counterpart level of the nurses who received normal guidance suggestions. The research sample consisted of 20 nurses who had started working in a hospital since the year 2018 whose scores on innovation literacy were ranked from lowest to highest. Then they were randomly assigned by taking lots to be in an experimental group and a control group each of which containing 10 nurses. Nurses in the experimental group used a guidance activities package to develop innovation literacy, while those in the control group received normal guidance suggestions. The employed research tools were (1) a guidance activities package to develop innovation literacy, (2) a set of normal guidance suggestions, and (3) a scale to assess innovation literacy, with reliability coefficient of .88. Statistics employed for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon matched-pairs signed-ranks test, and Mann-Whitney U test. Research findings showed that (1) the nurses who used the guidance activities package had innovation literacy level significantly higher than their counterpart level before using it at the .01 level of statistical significance; and (2) the nurses who used the guidance activities package had innovation literacy scores significantly higher than the counterpart scores of the nurses who received normal guidance suggestions at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons